tokyowing2 ( you can read my previous blog at www.tokyowing.wordpress.com) (original) (raw)
the Sumida Hokusai Museum 2017
ภาพและบทความใน blog นี้ มีลิขสิทธิ์ หากท่านผู้ใดมีความประสงค์ ต้องการใช้ภาพหรือเนื้อหาใน blog นี้ ไปใช้หรือว่าเผยแพร่ ผลิตซ้ำไม่ว่าในรูปแบบใดก็ตาม กรุณาติดต่อ(tokyowing1@gmail.com)
ภาพถ่ายและบทความ ใน blog นี้เป็นลิขสิทธิ์ของ © Aroon Puritat
Permissions and Requests for Images and Content of this blog
Reproduction or redistribution of this blog Content or any portion of this blog Content is strictly prohibited without prior written permission .
To request permission to use or reproduce images from https://tokyowing2.wordpress.com please Contact (tokyowing1@gmail.com)
All rights reserved © Aroon Puritat
Professor Jun Sato Lecture+ Workshop in Thailand, March 2012
ภาพและบทความใน blog นี้ มีลิขสิทธิ์ หากท่านผู้ใดมีความประสงค์ ต้องการใช้ภาพหรือเนื้อหาใน blog นี้ ไปใช้หรือว่าเผยแพร่ ผลิตซ้ำไม่ว่าในรูปแบบใดก็ตาม กรุณาติดต่อ(tokyowing1@gmail.com)
ภาพถ่ายและบทความ ใน blog นี้เป็นลิขสิทธิ์ของ © Aroon Puritat
Permissions and Requests for Images and Content of this blog
Reproduction or redistribution of this blog Content or any portion of this blog Content is strictly prohibited without prior written permission .
To request permission to use or reproduce images from https://tokyowing2.wordpress.com please Contact (tokyowing1@gmail.com)
All rights reserved © Aroon Puritat
Copyright
ภาพและบทความใน blog นี้ มีลิขสิทธิื์ หากท่านผู้ใดมีความประสงค์ ต้องการใช้ภาพใน blog นี้ ไปใช้หรือว่าเผยแพร่ไม่ว่าในรูปแบบใดก็ตาม กรุณาติดต่อ มาที่ (tokyowing1@gmail.com)
Permissions and Requests for Images and Content of this blog
Reproduction or redistribution of this blog Content or any portion of this blog Content is strictly prohibited without the prior written permission.
To request permission to use or reproduce images from the tokyowing blog, please Contact tokyowing1@gmail.com
NARA CENTENNIAL HALL,Nara , ARATA ISOZAKI ,1999
ภาพและบทความใน blog นี้ มีลิขสิทธิ์ หากท่านผู้ใดมีความประสงค์ ต้องการใช้ภาพหรือเนื้อหาใน blog นี้ ไปใช้หรือว่าเผยแพร่ ผลิตซ้ำไม่ว่าในรูปแบบใดก็ตาม กรุณาติดต่อ(tokyowing1@gmail.com)
ภาพถ่ายและบทความ ใน blog นี้เป็นลิขสิทธิ์ของ © Aroon Puritat
Permissions and Requests for Images and Content of this blog
Reproduction or redistribution of this blog Content or any portion of this blog Content is strictly prohibited without prior written permission .
To request permission to use or reproduce images from https://tokyowing2.wordpress.com please Contact (tokyowing1@gmail.com)
All rights reserved © Aroon Puritat
เป้าหมายการเดินทางไปยัง นารา ของผมไม่ได้แค่ต้องการไปชมอาคารไม้โบราณอย่าง Todai-Ji เพียงอย่างเดียว แต่ยังรวมไปถึง NARA CENTENNIAL HALL ซึ่งอาคารสองหลังนี้ได้ถูกเชื่อมโยงเข้าหากันโดยผ่านความคิดของสถาปนิกที่มีชื่อว่า Arata Isozaki สำหรับอาคารไม้โบราณอย่าง Todaiji นั้นเป็นอาคารโครงสร้างไม้ที่มีขนาดใหญ่ที่ยังปรากฏหลงเหลืออยู่บนโลกใบนี้เลยก็ว่าได้ Isozaki ได้อ้างอิงถึง Todaiji ในฐานะอาคารไม้ขนาดใหญ่ที่สุดที่เคยถูกสร้างขึ้นมาในประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมญี่ปุ่น มาใช้เป็นแนวความคิดหลักสำหรับการประกวดหอประชุมแห่งใหม่ของเมือง Nara ในปี1991 และผลการตัดสินในครั้งนั้น แบบของ Isozaki ชนะการประกวด ตัวอาคารก่อสร้างแล้วเสร็จและได้เปิดให้สาธารณชนเข้าใช้ในปี 1999
ในแบบ Sketch ของ Isozaki แสดงให้เห็นว่าเขาพยายามเทียบเคียง volume ของตัวอาคารที่เขาออแบบกับวัด Todai-Ji โดยการซ้อนภาพอาคารสองหลังเข้าหากัน Arata Isozaki ออกแบบอาคารให้มีผังเป็นรูปทรงรี ที่มีแกนด้านยาว 138 เมตร ด้านสั้น 25 เมตร ตัวอาคารที่มีผังเป็นรูปวงรีทอดตัวยาวขนานไปกับรางรถไฟสถานี Nara ในแกนเหนือใต้ ซึ่ง พื้นที่บริเวณลานหน้าอาคารนั้น เด็กวัยรุ่นมักมาใช้ปั่นจักรยาน เต้นรำ เรื่อยไปจนถึง กลุ่มเด็กๆที่ผู้ปกครองพามาวิ่งเล่นกันเนื่องจากเป็นลานของเมืองที่สามารถใช้งานได้อย่างเย็นสบายโดยอาศัยเงาของอาคารที่ทอดเงาลงบน Plaza ตั้งแต่หลังเที่ยงวันเป็นต้นไป ในส่วนของโครงสร้าง Isozaki ได้นำเอาความคิดจากงานออกแบบในช่วงปี 70 อย่าง Festival Plaza ในงาน EXPO 70 ที่โอซากา และ Fujimi Country Clubhouse มาพัฒนาต่อ โดยตัวโครงสร้างอาคารภายในเป็นแผ่นคอนกรีตสำเร็จรูปที่ต้องอาศัยระบบโครงสร้างเหล็กแบบพิเศษในการยกโครงสร้างแผ่นคอนกรีตน้ำหนัก 4,600 ตันขึ้นมาลักษณะคล้ายกับการย่อตัวแล้วค่อยยันโครงสร้างให้ตั้งตรง ซึ่งระบบนี้เรียกว่า Panta-Up Process คำนวณโครงสร้างโดย Mamoru Kawaguchi วิศวกรของโครงการนี้ ซึ่งกระบวนการนี้กินเวลา 6 วันในการยกแผ่นคอนกรีต
ส่วนพื้นที่ภายใน Hall หลักทางด้านทิศใต้ นั้น ที่นั่งผู้ชมสามารถขยับและปรับเลื่อนเป็นชุดโดยใช้ระบบไฮดรอลิกในการเลื่อนที่นั่งทั้งแผง เพื่อให้สามารถรองรับกิจกรรมภายในได้หลากหลายรูปแบบ ส่วน Hall ทางด้านทิศเหนือนั้น ผนังห้องกรุด้วยแผ่นกระจกใสทั้งหมด ทำให้เราได้เห็นกิจกรรมภายในซึ่งแตกต่างจาก Concert hall โดยทั่วไป อีกทั้งผนังกระจกยังถูกออกแบบให้มีสองชั้น และผนังกระจกบางส่วนก็ถูกปรับให้มีองศาต่างๆกันเพื่อใช้เป็นส่วนสะท้อนเสียงภายในตัว hall อีกด้วย
ครั้งแรกที่ผมมาถึงสถานี Nara และมองเห็นอาคาร NARA CENTENNIAL HALL จากระยะไกล พื้นผิวสีเทาดำ ทำให้ผมค่อนข้างสงสัยอยู่ไม่น้อยว่าสถาปนิกใช้วัสดุอะไรในการห่อหุ้มอาคารขนาดยักษ์หลังนี้ แต่พอได้มาเห็นอาคารจริงจึงได้รู้ว่า แผ่นเกล็ดสีเทาเล็กๆนั้น ทำมาจากกระเบื้องที่เรียกว่า ibushi-gawara เป็นกระเบื้องที่มีเทคนิคในการทำเช่นเดียวกับ กระเบื้องหลังคาวัดและ หลังคาทาวน์เฮ้าส์แบบ Machiya (ห้องแถวโบราณแบบญี่ปุ่น) และยังมีรายละเอียดปลีกย่อย พิเศษที่สถาปนิกใส่เข้าไปในอาคาร ไม่ว่าจะเป็น คือ การเลือกเอาเฟอร์นิเจอร์ที่ออกแบบโดย Shiro Kuramata นักออกแบบที่เป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางสำหรับงานออกแบบผลิตภัณฑ์ในช่วงปี 80 โดยเฉพาะ เก้าอี้ และเก้าอี้ที่ถูกเลือกมาใช้สำหรับ หอประชุมแห่งนี้คือ Hal 2 ที่ถูกผลิตออกมาในปี 1987 นอกจากนั้น Isozaki ยังได้ทำภาพพิมพ์แบบร่างความคิดของตัวอาคารที่เขามักจะทำขึ้นมาเสมอๆเวลาออกแบบงานสถาปัตยกรรมมาตกแต่งบริเวณโถงทางเข้า café
ส่วนการเชื่อมต่ออาคารเข้ากับพื้นที่สาธารณะนั้น นอกเหนือไปจากลานขนาดใหญ่ด้านหน้าและด้านข้างอาคารแล้ว สถาปนิกยังได้ออกแบบสะพานเชื่อมเข้ากับสะพานลอยของสถานีรถไฟ Nara ซึ่งทำให้ผู้โดยสารที่เดินทางโดยรถไฟสามารถเดินเชื่อมไปยัง ตัวหอประชุมได้อย่างง่ายดาย รวมไปถึงมีการเตรียมทางลาดและลิฟท์เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้รถเข็นด้วย
ในบทสัมภาษณ์ของ Isozaki เขาได้อธิบายความคิดเกี่ยวกับเรื่อง Ma ซึ่งแตกต่างจากความคิดในเรื่อง Space และ time ในแบบปรัชญาตะวันตก ไว้อย่างน่าสนใจว่า “ในแนวความคิดของสถาปัตยกรรมญี่ปุ่น เราไม่มีแนวความคิดโดยตรงของ space หรือว่า ในเรื่องของ เวลา (time) ในแบบปรัชญาตะวันตก เรามีแต่ Ma ไม่มี space และไม่มี time และเมื่อแนวคิดเชิงปรัชญาตะวันตกเกี่ยวกับเรื่องนี้ได้เดินทางมาถึงญี่ปุ่นเมื่อประมาณสองร้อยกว่าปีที่ผ่านมา และเราก็พยายามหาความหมายให้กับ space กับ time ซึ่งให้ได้ใกล้เคียงที่สุด คือ หากรวม Ma เข้ากับ Chronos (เทพแห่งกาลเวลาในนิยายกรีกโบราณ ซึ่งมักปรากฏโฉมในรูปชายชราในฐานะบิดาแห่งกาลเวลา และมีปีกที่อุปมาถึงการโบยบินจากไปของเวลา แต่ในที่นี้ Isozaki คงหมายถึงเวลาในความหมายของตะวันตก) ก็คือ time และเมื่อรวม ความว่าง ( emptiness) เข้ากับ Ma ก็คือ Space ดังนั้นสิ่งที่น่าสนใจ คือ เมื่อเราพูดถึง Ma หมายถึงว่าเราคิดถึง space และ time ในห้วงเวลาเดียวกัน และไม่ได้แยกขาดออกจากกัน”
(ตีพิมพ์ครั้งแรกใน www.scgexperience.co.th)
“PROCES” ISOZAKI arata, MISA SHIN GALLERY,TOKYO 2011
ภาพและบทความใน blog นี้ มีลิขสิทธิ์ หากท่านผู้ใดมีความประสงค์ ต้องการใช้ภาพหรือเนื้อหาใน blog นี้ ไปใช้หรือว่าเผยแพร่ ผลิตซ้ำไม่ว่าในรูปแบบใดก็ตาม กรุณาติดต่อ(tokyowing1@gmail.com)
ภาพถ่ายและบทความ ใน blog นี้เป็นลิขสิทธิ์ของ © Aroon Puritat
Permissions and Requests for Images and Content of this blog
Reproduction or redistribution of this blog Content or any portion of this blog Content is strictly prohibited without prior written permission .
To request permission to use or reproduce images from https://tokyowing2.wordpress.com please Contact (tokyowing1@gmail.com)
All rights reserved © Aroon Puritat
Yoko Ono,’The Road Of Hope’ 2011,Hiroshima City Museum of Contemporary Art
ภาพและบทความใน blog นี้ มีลิขสิทธิ์ หากท่านผู้ใดมีความประสงค์ ต้องการใช้ภาพหรือเนื้อหาใน blog นี้ ไปใช้หรือว่าเผยแพร่ ผลิตซ้ำไม่ว่าในรูปแบบใดก็ตาม กรุณาติดต่อ(tokyowing1@gmail.com)
ภาพถ่ายและบทความ ใน blog นี้เป็นลิขสิทธิ์ของ © Aroon Puritat
Permissions and Requests for Images and Content of this blog
Reproduction or redistribution of this blog Content or any portion of this blog Content is strictly prohibited without prior written permission .
To request permission to use or reproduce images from https://tokyowing2.wordpress.com please Contact (tokyowing1@gmail.com)
All rights reserved © Aroon Puritat
Teshima Art Museum,Ryue Nishizawa, 2010
ภาพและบทความใน blog นี้ มีลิขสิทธิ์ หากท่านผู้ใดมีความประสงค์ ต้องการใช้ภาพหรือเนื้อหาใน blog นี้ ไปใช้หรือว่าเผยแพร่ ผลิตซ้ำไม่ว่าในรูปแบบใดก็ตาม กรุณาติดต่อ(tokyowing1@gmail.com)
ภาพถ่ายและบทความ ใน blog นี้เป็นลิขสิทธิ์ของ © Aroon Puritat
Permissions and Requests for Images and Content of this blog
Reproduction or redistribution of this blog Content or any portion of this blog Content is strictly prohibited without prior written permission .
To request permission to use or reproduce images from https://tokyowing2.wordpress.com please Contact (tokyowing1@gmail.com)
All rights reserved © Aroon Puritat
ภาพและบทความใน blog นี้ มีลิขสิทธิ์ หากท่านผู้ใดมีความประสงค์ ต้องการใช้ภาพหรือเนื้อหาใน blog นี้ ไปใช้หรือว่าเผยแพร่ ผลิตซ้ำไม่ว่าในรูปแบบใดก็ตาม กรุณาติดต่อ(tokyowing1@gmail.com)
ภาพถ่ายและบทความ ใน blog นี้เป็นลิขสิทธิ์ของ © Aroon Puritat
Permissions and Requests for Images and Content of this blog
Reproduction or redistribution of this blog Content or any portion of this blog Content is strictly prohibited without prior written permission .
To request permission to use or reproduce images from https://tokyowing2.wordpress.com please Contact (tokyowing1@gmail.com)
All rights reserved © Aroon Puritat
Naoshima Ferry Terminal,Naoshima, SANAA
ภาพและบทความใน blog นี้ มีลิขสิทธิ์ หากท่านผู้ใดมีความประสงค์ ต้องการใช้ภาพหรือเนื้อหาใน blog นี้ ไปใช้หรือว่าเผยแพร่ ผลิตซ้ำไม่ว่าในรูปแบบใดก็ตาม กรุณาติดต่อ(tokyowing1@gmail.com)
ภาพถ่ายและบทความ ใน blog นี้เป็นลิขสิทธิ์ของ © Aroon Puritat
Permissions and Requests for Images and Content of this blog
Reproduction or redistribution of this blog Content or any portion of this blog Content is strictly prohibited without prior written permission .
To request permission to use or reproduce images from https://tokyowing2.wordpress.com please Contact (tokyowing1@gmail.com)
All rights reserved © Aroon Puritat
Interview with Yukie Kamiya,Chief curator of Hiroshima City Museum of Contemporary Art,Hiroshima
ภาพและบทความใน blog นี้ มีลิขสิทธิ์ หากท่านผู้ใดมีความประสงค์ ต้องการใช้ภาพหรือเนื้อหาใน blog นี้ ไปใช้หรือว่าเผยแพร่ ผลิตซ้ำไม่ว่าในรูปแบบใดก็ตาม กรุณาติดต่อ(tokyowing1@gmail.com)
ภาพถ่ายและบทความ ใน blog นี้เป็นลิขสิทธิ์ของ © Aroon Puritat
Permissions and Requests for Images and Content of this blog
Reproduction or redistribution of this blog Content or any portion of this blog Content is strictly prohibited without prior written permission .
To request permission to use or reproduce images from https://tokyowing2.wordpress.com please Contact (tokyowing1@gmail.com)
All rights reserved © Aroon Puritat