Geraldine Holenweger | University of Bern, Switzerland (original) (raw)
Uploads
Papers by Geraldine Holenweger
Organizational cybersecurity journal, May 30, 2024
Purpose-Cyberattacks have become a major threat to small and medium-sized enterprises. Their prev... more Purpose-Cyberattacks have become a major threat to small and medium-sized enterprises. Their prevention efforts often prioritize technical solutions over human factors, despite humans posing the greatest risk. This article highlights the importance of developing tailored behavioral interventions. Through qualitative interviews, we identified three persona types with different psychological biases that increase the risk of cyberattacks. These psychological biases are a basis for creating behavioral interventions to strengthen the human factor and, thus, prevent cyberattacks. Design/methodology/approach-We conducted structured, in-depth interviews with 44 employees, decision makers and IT service providers from small and medium-sized Swiss enterprises to understand insecure cyber behavior. Findings-A thematic analysis revealed that, while knowledge about cyber risks is available, no one assumes responsibility for employees' and decision makers' behavior. The interview results suggest three personas for employees and decision makers: experts, deportees and repressors. We have derived corresponding biases from these three persona types that help explain the interviewees' insecure cyber behavior. Research limitations/implications-This study provides evidence that employees differ in their cognitive biases. This implies that tailored interventions are more effective than one-size-fits7-all interventions. It is inherent in the idea of tailored interventions that they depend on multiple factors, such as cultural, organizational or individual factors. However, even if the segments change somewhat, it is still very likely that there are subgroups of employees that differ in terms of their misleading cognitive biases and risk behavior. Practical implications-This article discusses behavior directed recommendations for tailored interventions in small and medium-sized enterprises to minimize cyber risks. Originality/value-The contribution of this study is that it is the first to use personas and cognitive biases to understand insecure cyber behavior, and to explain why small and medium-sized enterprises do not implement behavior-based cybersecurity best practices. The personas and biases provide starting points for future research and interventions in practice.
Body Image
งานวิจัยนี้มีหัวหน้าโครงการคือ Prof. Viren Swami, Professor of Social Psychology at Anglia Ruskin... more งานวิจัยนี้มีหัวหน้าโครงการคือ Prof. Viren Swami, Professor of Social Psychology at Anglia Ruskin University, UK. ท่านมีความสนใจและเชี่ยวชาญงานวิจัยเกี่ยวกับ Body image within different cultural and subcultural contexts. ดังนั้นจึงเกิดโปรเจคนี้ขึ้นมาร่วมกับนักวิจัยอื่นๆอีก 259 คน ในประเทศไทย มี1คนจากจุฬา 2คนจากธรรมศาสตร์ 1คนจากมช. 1คนจากมอ. และ1คนจากมหาสารคาม ในชื่อบทความที่ถูกตีพิมพ์ในวารสาร Body Image (Volume 46, September 2023, Pages 449-466 ; SCOPUS, SJR Q1 in Applied Psychology) https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1740144523001079?via%3Dihub ''การศึกษาเรื่องความเคารพร่างกายจากทั่วโลก : โดยการตรวจสอบคุณสมบัติทางจิตมิติและความเสถียรของมาตรวัด ความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) ว่าความเคารพร่างกาย จะมีความแตกต่างอย่างไรในแต่ละประเทศและแต่ละภาษา รวมไปถึง ว่ามีความสอดคล้องกันในกลุ่มแต่ละอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุหรือไม่ อย่างไร จาก 65 ประเทศ 40 ภาษา กลุ่มอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุที่แตกต่างกัน" งานวิจัยนี้ใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติที่เรียกว่า "Multi-group confirmatory factor analysis" หรือ "การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงยืนยันในกลุ่มหลายกลุ่ม" โดยเป็นวิธีทางสถิติที่ใช้ทดสอบข้อมูลระหว่างกลุ่มเพื่อทำการเปรียบเทียบและตรวจสอบว่าโมเดลปัจจัยมีความสอดคล้องกันในกลุ่มต่าง ๆ หรือไม่ อย่างไร กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนทั้งสิ้น 56,968 คน จาก 65 ประเทศ 40 ภาษา โดยเก็บข้อมูลจากแบบวัด 5 แบบวัด (ความเคารพร่างกาย ความพึงพอใจในชีวิต ความมั่นคงทางการเงิน เขตที่พักอาศัย ดัชนีมวลกาย) และแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล (เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส สัญชาติ) เก็บข้อมูลระหว่างปี 2020-2022 ผลการวิจัยโดยสรุป พบว่า 1. มาตรวัด ความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) นี้มีเพียงองค์ประกอบเดียว หรือ 1 มิติเท่านั้น (unidimensional model) และมีความสามารถในการนำไปใช้งานได้ในขอบเขตหลากหลาย หรือกล่าวได้ว่ามีความเหมาะสมในการใช้งานที่กว้างขวางและหลากหลายสถานการณ์ 2. มีความแตกต่างขนาดใหญ่ในการเคารพร่างกายที่เกิดขึ้นเมื่อเปรียบเทียบระหว่างประเทศต่างๆกับ UK และผู้ที่ใช้ภาษาต่างๆกับภาษาอังกฤษ 3. มีความแตกต่างขนาดเล็กถึงน้อยมากในการเคารพร่างกายที่เกิดขึ้นเมื่อเปรียบเทียบระหว่าง กลุ่มอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุ 4. การเคารพร่างกายที่มากขึ้นเชื่อมโยงอย่างมีนัยสำคัญกับความพึงพอใจในชีวิตที่สูงขึ้น การเป็นโสด (เมื่อเปรียบเทียบกับคนที่สมรสแล้วหรือมีความสัมพันธ์ที่เข้มแข็ง) และพักอาศัยในเขตภูมิศาสตร์ที่ใกล้ชนบทมากขึ้น (เมื่อเปรียบเทียบกับการอยู่ในเขตเมือง) 5. ในกลุ่มประเทศบางส่วนที่มีข้อมูลระดับประเทศที่สามารถนำมาวิเคราะห์ได้ พบว่า การเคารพร่างกายที่มากขึ้นเชื่อมโยงอย่างมีนัยสำคัญกับระยะห่างทางวัฒนธรรมที่มากขึ้นจากสหรัฐอเมริกาและความไม่เสมอภาคของรายได้ที่มากขึ้น 6. ข้อค้นพบในงานวิจัยนี้ เสนอแนะว่า มาตรวัดความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) มีความน่าจะเป็นที่จะเก็บรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างกายที่ใกล้เคียงกับแนวความคิดเชิงสากลเกี่ยวกับแนวความคิดเรื่องการเคารพร่างกาย ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้เกิดการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความเคารพร่างกายเพื่อเปรียบเทียบข้ามวัฒนธรรมได้มากยิ่งขึ้นในอนาคต
Body Image , 2023
งานวิจัยนี้มีหัวหน้าโครงการวิจัยคือ Prof. Dr.Viren Swami, Professor of Social Psychology at Angli... more งานวิจัยนี้มีหัวหน้าโครงการวิจัยคือ Prof. Dr.Viren Swami, Professor of Social Psychology at Anglia Ruskin University, UK. ท่านมีความสนใจและเชี่ยวชาญงานวิจัยเกี่ยวกับ Body image within different cultural and subcultural contexts. ดังนั้นจึงเกิดโปรเจคนี้ขึ้นมาร่วมกับนักวิจัยอื่นๆ อีก 259 คน ในประเทศไทย มีผู้วิจัยร่วมจากทั้ง 4 ภาค ได้แก่ ภาคกลาง อาจารย์จากจุฬา 1 คนและจากธรรมศาสตร์ 2 คน ภาคเหนือ จากมช. 1 คน ภาคใต้จากมอ.1 คน และภาคอีสาน จากมหาสารคาม1คน บทความถูกตีพิมพ์ในวารสาร Body Image (Volume 46, September 2023, Pages 449-466 ; SCOPUS, SJR Q1 in Applied Psychology) https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1740144523001079?via%3Dihub
''การศึกษาเรื่องความเคารพร่างกายจากทั่วโลก : โดยการตรวจสอบคุณสมบัติทางจิตมิติและความเสถียรของมาตรวัด ความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) ว่าความเคารพร่างกาย จะมีความแตกต่างอย่างไรในแต่ละประเทศและแต่ละภาษา รวมไปถึง ว่ามีความสอดคล้องกันในกลุ่มแต่ละอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุหรือไม่อย่างไร จาก 65 ประเทศ 40 ภาษา กลุ่มอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุที่แตกต่างกัน"
งานวิจัยนี้ใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติที่เรียกว่า "Multi-group confirmatory factor analysis" หรือ "การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงยืนยันในกลุ่มหลายกลุ่ม" โดยเป็นวิธีทางสถิติที่ใช้ทดสอบข้อมูลระหว่างกลุ่มเพื่อทำการเปรียบเทียบและตรวจสอบว่าโมเดลปัจจัยมีความสอดคล้องกันในกลุ่มต่าง ๆ หรือไม่ อย่างไร
กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนทั้งสิ้น 56,968 คน จาก 65 ประเทศ 40 ภาษา โดยเก็บข้อมูลจากแบบวัด 5 แบบวัด (ความเคารพร่างกาย ความพึงพอใจในชีวิต ความมั่นคงทางการเงิน เขตที่พักอาศัย ดัชนีมวลกาย) และแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล (เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส สัญชาติ) เก็บข้อมูลระหว่างปี 2020-2022
ผลการวิจัยโดยสรุป พบว่า
1. มาตรวัด ความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) นี้มีเพียงองค์ประกอบเดียว หรือ 1 มิติเท่านั้น (unidimensional model) และมีความสามารถในการนำไปใช้งานได้ในขอบเขตหลากหลาย หรือกล่าวได้ว่ามีความเหมาะสมในการใช้งานที่กว้างขวางและหลากหลายสถานการณ์
2. มีความแตกต่างขนาดใหญ่ในการเคารพร่างกายที่เกิดขึ้นเมื่อเปรียบเทียบระหว่างประเทศต่างๆกับ UK และผู้ที่ใช้ภาษาต่างๆกับภาษาอังกฤษ
3. มีความแตกต่างขนาดเล็กถึงน้อยมากในการเคารพร่างกายที่เกิดขึ้นเมื่อเปรียบเทียบระหว่าง กลุ่มอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุ
4. การเคารพร่างกายที่มากขึ้นเชื่อมโยงอย่างมีนัยสำคัญกับความพึงพอใจในชีวิตที่สูงขึ้น การเป็นโสด (เมื่อเปรียบเทียบกับคนที่สมรสแล้วหรือมีความสัมพันธ์ที่เข้มแข็ง) และพักอาศัยในเขตภูมิศาสตร์ที่ใกล้ชนบทมากขึ้น (เมื่อเปรียบเทียบกับการอยู่ในเขตเมือง)
5. ในกลุ่มประเทศบางส่วนที่มีข้อมูลระดับประเทศที่สามารถนำมาวิเคราะห์ได้ พบว่า การเคารพร่างกายที่มากขึ้นเชื่อมโยงอย่างมีนัยสำคัญกับระยะห่างทางวัฒนธรรมที่มากขึ้นจากสหรัฐอเมริกาและความไม่เสมอภาคของรายได้ที่มากขึ้น
6. ข้อค้นพบในงานวิจัยนี้ เสนอแนะว่า มาตรวัดความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) มีความน่าจะเป็นที่จะเก็บรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างกายที่ใกล้เคียงกับแนวความคิดเชิงสากลเกี่ยวกับแนวความคิดเรื่องการเคารพร่างกาย ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้เกิดการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความเคารพร่างกายเพื่อเปรียบเทียบข้ามวัฒนธรรมได้มากยิ่งขึ้นในอนาคต
Body appreciation around the world: Measurement invariance of the Body Appreciation Scale-2 (BAS-2) across 65 nations, 40 languages, gender identities, and age, Oct 7, 2023
The Body Appreciation Scale-2 (BAS-2) is a widely used measure of a core facet of the positive bo... more The Body Appreciation Scale-2 (BAS-2) is a widely used measure of a core facet of the positive body image construct. However, extant research concerning measurement invariance of the BAS-2 across a large number of nations remains limited. Here, we utilised the Body Image in Nature (BINS) dataset – with data collected between 2020 and 2022 – to assess measurement invariance of the BAS-2 across 65 nations, 40 languages, gender identities, and age groups. Multi-group confirmatory factor analysis indicated that full scalar invariance was upheld across all nations, languages, gender identities, and age groups, suggesting that the unidimensional BAS-2 model has widespread applicability. There were large differences across nations and languages in latent body appreciation, while differences across gender identities and age groups were negligible-to-small. Additionally, greater body appreciation was significantly associated with higher life satisfaction, being single (versus being married or in a committed relationship), and greater rurality (versus urbanicity). Across a subset of nations where nation-level data were available, greater body appreciation was also significantly associated with greater cultural distance from the United States and greater relative income inequality. These findings suggest that the BAS-2 likely captures a nearuniversal conceptualisation of the body appreciation construct, which should facilitate further cross-cultural research.
Keywords: Body appreciation; Body Appreciation Scale-2 (BAS-2); Measurement invariance; Cross-cultural; Multi-group confirmatory factor analysis (MG-CFA);
Psychometrics; Structural analysis
Body Image
งานวิจัยนี้มีหัวหน้าโครงการคือ Prof. Viren Swami, Professor of Social Psychology at Anglia Ruskin... more งานวิจัยนี้มีหัวหน้าโครงการคือ Prof. Viren Swami, Professor of Social Psychology at Anglia Ruskin University, UK. ท่านมีความสนใจและเชี่ยวชาญงานวิจัยเกี่ยวกับ Body image within different cultural and subcultural contexts. ดังนั้นจึงเกิดโปรเจคนี้ขึ้นมาร่วมกับนักวิจัยอื่นๆอีก 259 คน ในประเทศไทย มี1คนจากจุฬา 2คนจากธรรมศาสตร์ 1คนจากมช. 1คนจากมอ. และ1คนจากมหาสารคาม ในชื่อบทความที่ถูกตีพิมพ์ในวารสาร Body Image (Volume 46, September 2023, Pages 449-466 ; SCOPUS, SJR Q1 in Applied Psychology) https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1740144523001079?via%3Dihub ''การศึกษาเรื่องความเคารพร่างกายจากทั่วโลก : โดยการตรวจสอบคุณสมบัติทางจิตมิติและความเสถียรของมาตรวัด ความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) ว่าความเคารพร่างกาย จะมีความแตกต่างอย่างไรในแต่ละประเทศและแต่ละภาษา รวมไปถึง ว่ามีความสอดคล้องกันในกลุ่มแต่ละอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุหรือไม่ อย่างไร จาก 65 ประเทศ 40 ภาษา กลุ่มอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุที่แตกต่างกัน" งานวิจัยนี้ใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติที่เรียกว่า "Multi-group confirmatory factor analysis" หรือ "การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงยืนยันในกลุ่มหลายกลุ่ม" โดยเป็นวิธีทางสถิติที่ใช้ทดสอบข้อมูลระหว่างกลุ่มเพื่อทำการเปรียบเทียบและตรวจสอบว่าโมเดลปัจจัยมีความสอดคล้องกันในกลุ่มต่าง ๆ หรือไม่ อย่างไร กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนทั้งสิ้น 56,968 คน จาก 65 ประเทศ 40 ภาษา โดยเก็บข้อมูลจากแบบวัด 5 แบบวัด (ความเคารพร่างกาย ความพึงพอใจในชีวิต ความมั่นคงทางการเงิน เขตที่พักอาศัย ดัชนีมวลกาย) และแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล (เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส สัญชาติ) เก็บข้อมูลระหว่างปี 2020-2022 ผลการวิจัยโดยสรุป พบว่า 1. มาตรวัด ความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) นี้มีเพียงองค์ประกอบเดียว หรือ 1 มิติเท่านั้น (unidimensional model) และมีความสามารถในการนำไปใช้งานได้ในขอบเขตหลากหลาย หรือกล่าวได้ว่ามีความเหมาะสมในการใช้งานที่กว้างขวางและหลากหลายสถานการณ์ 2. มีความแตกต่างขนาดใหญ่ในการเคารพร่างกายที่เกิดขึ้นเมื่อเปรียบเทียบระหว่างประเทศต่างๆกับ UK และผู้ที่ใช้ภาษาต่างๆกับภาษาอังกฤษ 3. มีความแตกต่างขนาดเล็กถึงน้อยมากในการเคารพร่างกายที่เกิดขึ้นเมื่อเปรียบเทียบระหว่าง กลุ่มอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุ 4. การเคารพร่างกายที่มากขึ้นเชื่อมโยงอย่างมีนัยสำคัญกับความพึงพอใจในชีวิตที่สูงขึ้น การเป็นโสด (เมื่อเปรียบเทียบกับคนที่สมรสแล้วหรือมีความสัมพันธ์ที่เข้มแข็ง) และพักอาศัยในเขตภูมิศาสตร์ที่ใกล้ชนบทมากขึ้น (เมื่อเปรียบเทียบกับการอยู่ในเขตเมือง) 5. ในกลุ่มประเทศบางส่วนที่มีข้อมูลระดับประเทศที่สามารถนำมาวิเคราะห์ได้ พบว่า การเคารพร่างกายที่มากขึ้นเชื่อมโยงอย่างมีนัยสำคัญกับระยะห่างทางวัฒนธรรมที่มากขึ้นจากสหรัฐอเมริกาและความไม่เสมอภาคของรายได้ที่มากขึ้น 6. ข้อค้นพบในงานวิจัยนี้ เสนอแนะว่า มาตรวัดความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) มีความน่าจะเป็นที่จะเก็บรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างกายที่ใกล้เคียงกับแนวความคิดเชิงสากลเกี่ยวกับแนวความคิดเรื่องการเคารพร่างกาย ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้เกิดการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความเคารพร่างกายเพื่อเปรียบเทียบข้ามวัฒนธรรมได้มากยิ่งขึ้นในอนาคต
Social Marketing Quarterly
Background Good hand hygiene adherence is a key factor in the prevention of hospital-acquired inf... more Background Good hand hygiene adherence is a key factor in the prevention of hospital-acquired infections. The guidelines offered by the World Health Organization for interventions to improve hand hygiene adherence in human health care can only in part be applied to veterinary medicine, and current observations of hygiene adherence in veterinary environments stress a need for decisive action. There is great potential for improvement, especially in situations in which people act habitually. Focus of the Article The focus of this article is to identify the barriers and benefits that influence hand hygiene habits in veterinary care facilities and to derive intervention strategies to promote hand hygiene habits informed by theory and formative research. Research Question This article examines two research questions. What contextual, social, and personal factors promote (benefits) and hinder (barriers) hand hygiene habits in veterinary care facilities? Which intervention strategies can be...
Body Image
งานวิจัยนี้มีหัวหน้าโครงการคือ Prof. Viren Swami, Professor of Social Psychology at Anglia Ruskin... more งานวิจัยนี้มีหัวหน้าโครงการคือ Prof. Viren Swami, Professor of Social Psychology at Anglia Ruskin University, UK. ท่านมีความสนใจและเชี่ยวชาญงานวิจัยเกี่ยวกับ Body image within different cultural and subcultural contexts. ดังนั้นจึงเกิดโปรเจคนี้ขึ้นมาร่วมกับนักวิจัยอื่นๆอีก 259 คน ในประเทศไทย มี1คนจากจุฬา 2คนจากธรรมศาสตร์ 1คนจากมช. 1คนจากมอ. และ1คนจากมหาสารคาม ในชื่อบทความที่ถูกตีพิมพ์ในวารสาร Body Image (Volume 46, September 2023, Pages 449-466 ; SCOPUS, SJR Q1 in Applied Psychology) https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1740144523001079?via%3Dihub ''การศึกษาเรื่องความเคารพร่างกายจากทั่วโลก : โดยการตรวจสอบคุณสมบัติทางจิตมิติและความเสถียรของมาตรวัด ความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) ว่าความเคารพร่างกาย จะมีความแตกต่างอย่างไรในแต่ละประเทศและแต่ละภาษา รวมไปถึง ว่ามีความสอดคล้องกันในกลุ่มแต่ละอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุหรือไม่ อย่างไร จาก 65 ประเทศ 40 ภาษา กลุ่มอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุที่แตกต่างกัน" งานวิจัยนี้ใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติที่เรียกว่า "Multi-group confirmatory factor analysis" หรือ "การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงยืนยันในกลุ่มหลายกลุ่ม" โดยเป็นวิธีทางสถิติที่ใช้ทดสอบข้อมูลระหว่างกลุ่มเพื่อทำการเปรียบเทียบและตรวจสอบว่าโมเดลปัจจัยมีความสอดคล้องกันในกลุ่มต่าง ๆ หรือไม่ อย่างไร กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนทั้งสิ้น 56,968 คน จาก 65 ประเทศ 40 ภาษา โดยเก็บข้อมูลจากแบบวัด 5 แบบวัด (ความเคารพร่างกาย ความพึงพอใจในชีวิต ความมั่นคงทางการเงิน เขตที่พักอาศัย ดัชนีมวลกาย) และแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล (เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส สัญชาติ) เก็บข้อมูลระหว่างปี 2020-2022 ผลการวิจัยโดยสรุป พบว่า 1. มาตรวัด ความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) นี้มีเพียงองค์ประกอบเดียว หรือ 1 มิติเท่านั้น (unidimensional model) และมีความสามารถในการนำไปใช้งานได้ในขอบเขตหลากหลาย หรือกล่าวได้ว่ามีความเหมาะสมในการใช้งานที่กว้างขวางและหลากหลายสถานการณ์ 2. มีความแตกต่างขนาดใหญ่ในการเคารพร่างกายที่เกิดขึ้นเมื่อเปรียบเทียบระหว่างประเทศต่างๆกับ UK และผู้ที่ใช้ภาษาต่างๆกับภาษาอังกฤษ 3. มีความแตกต่างขนาดเล็กถึงน้อยมากในการเคารพร่างกายที่เกิดขึ้นเมื่อเปรียบเทียบระหว่าง กลุ่มอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุ 4. การเคารพร่างกายที่มากขึ้นเชื่อมโยงอย่างมีนัยสำคัญกับความพึงพอใจในชีวิตที่สูงขึ้น การเป็นโสด (เมื่อเปรียบเทียบกับคนที่สมรสแล้วหรือมีความสัมพันธ์ที่เข้มแข็ง) และพักอาศัยในเขตภูมิศาสตร์ที่ใกล้ชนบทมากขึ้น (เมื่อเปรียบเทียบกับการอยู่ในเขตเมือง) 5. ในกลุ่มประเทศบางส่วนที่มีข้อมูลระดับประเทศที่สามารถนำมาวิเคราะห์ได้ พบว่า การเคารพร่างกายที่มากขึ้นเชื่อมโยงอย่างมีนัยสำคัญกับระยะห่างทางวัฒนธรรมที่มากขึ้นจากสหรัฐอเมริกาและความไม่เสมอภาคของรายได้ที่มากขึ้น 6. ข้อค้นพบในงานวิจัยนี้ เสนอแนะว่า มาตรวัดความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) มีความน่าจะเป็นที่จะเก็บรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างกายที่ใกล้เคียงกับแนวความคิดเชิงสากลเกี่ยวกับแนวความคิดเรื่องการเคารพร่างกาย ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้เกิดการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความเคารพร่างกายเพื่อเปรียบเทียบข้ามวัฒนธรรมได้มากยิ่งขึ้นในอนาคต
Food Quality and Preference
Organizational cybersecurity journal, May 30, 2024
Purpose-Cyberattacks have become a major threat to small and medium-sized enterprises. Their prev... more Purpose-Cyberattacks have become a major threat to small and medium-sized enterprises. Their prevention efforts often prioritize technical solutions over human factors, despite humans posing the greatest risk. This article highlights the importance of developing tailored behavioral interventions. Through qualitative interviews, we identified three persona types with different psychological biases that increase the risk of cyberattacks. These psychological biases are a basis for creating behavioral interventions to strengthen the human factor and, thus, prevent cyberattacks. Design/methodology/approach-We conducted structured, in-depth interviews with 44 employees, decision makers and IT service providers from small and medium-sized Swiss enterprises to understand insecure cyber behavior. Findings-A thematic analysis revealed that, while knowledge about cyber risks is available, no one assumes responsibility for employees' and decision makers' behavior. The interview results suggest three personas for employees and decision makers: experts, deportees and repressors. We have derived corresponding biases from these three persona types that help explain the interviewees' insecure cyber behavior. Research limitations/implications-This study provides evidence that employees differ in their cognitive biases. This implies that tailored interventions are more effective than one-size-fits7-all interventions. It is inherent in the idea of tailored interventions that they depend on multiple factors, such as cultural, organizational or individual factors. However, even if the segments change somewhat, it is still very likely that there are subgroups of employees that differ in terms of their misleading cognitive biases and risk behavior. Practical implications-This article discusses behavior directed recommendations for tailored interventions in small and medium-sized enterprises to minimize cyber risks. Originality/value-The contribution of this study is that it is the first to use personas and cognitive biases to understand insecure cyber behavior, and to explain why small and medium-sized enterprises do not implement behavior-based cybersecurity best practices. The personas and biases provide starting points for future research and interventions in practice.
Body Image
งานวิจัยนี้มีหัวหน้าโครงการคือ Prof. Viren Swami, Professor of Social Psychology at Anglia Ruskin... more งานวิจัยนี้มีหัวหน้าโครงการคือ Prof. Viren Swami, Professor of Social Psychology at Anglia Ruskin University, UK. ท่านมีความสนใจและเชี่ยวชาญงานวิจัยเกี่ยวกับ Body image within different cultural and subcultural contexts. ดังนั้นจึงเกิดโปรเจคนี้ขึ้นมาร่วมกับนักวิจัยอื่นๆอีก 259 คน ในประเทศไทย มี1คนจากจุฬา 2คนจากธรรมศาสตร์ 1คนจากมช. 1คนจากมอ. และ1คนจากมหาสารคาม ในชื่อบทความที่ถูกตีพิมพ์ในวารสาร Body Image (Volume 46, September 2023, Pages 449-466 ; SCOPUS, SJR Q1 in Applied Psychology) https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1740144523001079?via%3Dihub ''การศึกษาเรื่องความเคารพร่างกายจากทั่วโลก : โดยการตรวจสอบคุณสมบัติทางจิตมิติและความเสถียรของมาตรวัด ความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) ว่าความเคารพร่างกาย จะมีความแตกต่างอย่างไรในแต่ละประเทศและแต่ละภาษา รวมไปถึง ว่ามีความสอดคล้องกันในกลุ่มแต่ละอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุหรือไม่ อย่างไร จาก 65 ประเทศ 40 ภาษา กลุ่มอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุที่แตกต่างกัน" งานวิจัยนี้ใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติที่เรียกว่า "Multi-group confirmatory factor analysis" หรือ "การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงยืนยันในกลุ่มหลายกลุ่ม" โดยเป็นวิธีทางสถิติที่ใช้ทดสอบข้อมูลระหว่างกลุ่มเพื่อทำการเปรียบเทียบและตรวจสอบว่าโมเดลปัจจัยมีความสอดคล้องกันในกลุ่มต่าง ๆ หรือไม่ อย่างไร กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนทั้งสิ้น 56,968 คน จาก 65 ประเทศ 40 ภาษา โดยเก็บข้อมูลจากแบบวัด 5 แบบวัด (ความเคารพร่างกาย ความพึงพอใจในชีวิต ความมั่นคงทางการเงิน เขตที่พักอาศัย ดัชนีมวลกาย) และแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล (เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส สัญชาติ) เก็บข้อมูลระหว่างปี 2020-2022 ผลการวิจัยโดยสรุป พบว่า 1. มาตรวัด ความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) นี้มีเพียงองค์ประกอบเดียว หรือ 1 มิติเท่านั้น (unidimensional model) และมีความสามารถในการนำไปใช้งานได้ในขอบเขตหลากหลาย หรือกล่าวได้ว่ามีความเหมาะสมในการใช้งานที่กว้างขวางและหลากหลายสถานการณ์ 2. มีความแตกต่างขนาดใหญ่ในการเคารพร่างกายที่เกิดขึ้นเมื่อเปรียบเทียบระหว่างประเทศต่างๆกับ UK และผู้ที่ใช้ภาษาต่างๆกับภาษาอังกฤษ 3. มีความแตกต่างขนาดเล็กถึงน้อยมากในการเคารพร่างกายที่เกิดขึ้นเมื่อเปรียบเทียบระหว่าง กลุ่มอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุ 4. การเคารพร่างกายที่มากขึ้นเชื่อมโยงอย่างมีนัยสำคัญกับความพึงพอใจในชีวิตที่สูงขึ้น การเป็นโสด (เมื่อเปรียบเทียบกับคนที่สมรสแล้วหรือมีความสัมพันธ์ที่เข้มแข็ง) และพักอาศัยในเขตภูมิศาสตร์ที่ใกล้ชนบทมากขึ้น (เมื่อเปรียบเทียบกับการอยู่ในเขตเมือง) 5. ในกลุ่มประเทศบางส่วนที่มีข้อมูลระดับประเทศที่สามารถนำมาวิเคราะห์ได้ พบว่า การเคารพร่างกายที่มากขึ้นเชื่อมโยงอย่างมีนัยสำคัญกับระยะห่างทางวัฒนธรรมที่มากขึ้นจากสหรัฐอเมริกาและความไม่เสมอภาคของรายได้ที่มากขึ้น 6. ข้อค้นพบในงานวิจัยนี้ เสนอแนะว่า มาตรวัดความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) มีความน่าจะเป็นที่จะเก็บรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างกายที่ใกล้เคียงกับแนวความคิดเชิงสากลเกี่ยวกับแนวความคิดเรื่องการเคารพร่างกาย ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้เกิดการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความเคารพร่างกายเพื่อเปรียบเทียบข้ามวัฒนธรรมได้มากยิ่งขึ้นในอนาคต
Body Image , 2023
งานวิจัยนี้มีหัวหน้าโครงการวิจัยคือ Prof. Dr.Viren Swami, Professor of Social Psychology at Angli... more งานวิจัยนี้มีหัวหน้าโครงการวิจัยคือ Prof. Dr.Viren Swami, Professor of Social Psychology at Anglia Ruskin University, UK. ท่านมีความสนใจและเชี่ยวชาญงานวิจัยเกี่ยวกับ Body image within different cultural and subcultural contexts. ดังนั้นจึงเกิดโปรเจคนี้ขึ้นมาร่วมกับนักวิจัยอื่นๆ อีก 259 คน ในประเทศไทย มีผู้วิจัยร่วมจากทั้ง 4 ภาค ได้แก่ ภาคกลาง อาจารย์จากจุฬา 1 คนและจากธรรมศาสตร์ 2 คน ภาคเหนือ จากมช. 1 คน ภาคใต้จากมอ.1 คน และภาคอีสาน จากมหาสารคาม1คน บทความถูกตีพิมพ์ในวารสาร Body Image (Volume 46, September 2023, Pages 449-466 ; SCOPUS, SJR Q1 in Applied Psychology) https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1740144523001079?via%3Dihub
''การศึกษาเรื่องความเคารพร่างกายจากทั่วโลก : โดยการตรวจสอบคุณสมบัติทางจิตมิติและความเสถียรของมาตรวัด ความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) ว่าความเคารพร่างกาย จะมีความแตกต่างอย่างไรในแต่ละประเทศและแต่ละภาษา รวมไปถึง ว่ามีความสอดคล้องกันในกลุ่มแต่ละอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุหรือไม่อย่างไร จาก 65 ประเทศ 40 ภาษา กลุ่มอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุที่แตกต่างกัน"
งานวิจัยนี้ใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติที่เรียกว่า "Multi-group confirmatory factor analysis" หรือ "การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงยืนยันในกลุ่มหลายกลุ่ม" โดยเป็นวิธีทางสถิติที่ใช้ทดสอบข้อมูลระหว่างกลุ่มเพื่อทำการเปรียบเทียบและตรวจสอบว่าโมเดลปัจจัยมีความสอดคล้องกันในกลุ่มต่าง ๆ หรือไม่ อย่างไร
กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนทั้งสิ้น 56,968 คน จาก 65 ประเทศ 40 ภาษา โดยเก็บข้อมูลจากแบบวัด 5 แบบวัด (ความเคารพร่างกาย ความพึงพอใจในชีวิต ความมั่นคงทางการเงิน เขตที่พักอาศัย ดัชนีมวลกาย) และแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล (เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส สัญชาติ) เก็บข้อมูลระหว่างปี 2020-2022
ผลการวิจัยโดยสรุป พบว่า
1. มาตรวัด ความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) นี้มีเพียงองค์ประกอบเดียว หรือ 1 มิติเท่านั้น (unidimensional model) และมีความสามารถในการนำไปใช้งานได้ในขอบเขตหลากหลาย หรือกล่าวได้ว่ามีความเหมาะสมในการใช้งานที่กว้างขวางและหลากหลายสถานการณ์
2. มีความแตกต่างขนาดใหญ่ในการเคารพร่างกายที่เกิดขึ้นเมื่อเปรียบเทียบระหว่างประเทศต่างๆกับ UK และผู้ที่ใช้ภาษาต่างๆกับภาษาอังกฤษ
3. มีความแตกต่างขนาดเล็กถึงน้อยมากในการเคารพร่างกายที่เกิดขึ้นเมื่อเปรียบเทียบระหว่าง กลุ่มอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุ
4. การเคารพร่างกายที่มากขึ้นเชื่อมโยงอย่างมีนัยสำคัญกับความพึงพอใจในชีวิตที่สูงขึ้น การเป็นโสด (เมื่อเปรียบเทียบกับคนที่สมรสแล้วหรือมีความสัมพันธ์ที่เข้มแข็ง) และพักอาศัยในเขตภูมิศาสตร์ที่ใกล้ชนบทมากขึ้น (เมื่อเปรียบเทียบกับการอยู่ในเขตเมือง)
5. ในกลุ่มประเทศบางส่วนที่มีข้อมูลระดับประเทศที่สามารถนำมาวิเคราะห์ได้ พบว่า การเคารพร่างกายที่มากขึ้นเชื่อมโยงอย่างมีนัยสำคัญกับระยะห่างทางวัฒนธรรมที่มากขึ้นจากสหรัฐอเมริกาและความไม่เสมอภาคของรายได้ที่มากขึ้น
6. ข้อค้นพบในงานวิจัยนี้ เสนอแนะว่า มาตรวัดความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) มีความน่าจะเป็นที่จะเก็บรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างกายที่ใกล้เคียงกับแนวความคิดเชิงสากลเกี่ยวกับแนวความคิดเรื่องการเคารพร่างกาย ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้เกิดการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความเคารพร่างกายเพื่อเปรียบเทียบข้ามวัฒนธรรมได้มากยิ่งขึ้นในอนาคต
Body appreciation around the world: Measurement invariance of the Body Appreciation Scale-2 (BAS-2) across 65 nations, 40 languages, gender identities, and age, Oct 7, 2023
The Body Appreciation Scale-2 (BAS-2) is a widely used measure of a core facet of the positive bo... more The Body Appreciation Scale-2 (BAS-2) is a widely used measure of a core facet of the positive body image construct. However, extant research concerning measurement invariance of the BAS-2 across a large number of nations remains limited. Here, we utilised the Body Image in Nature (BINS) dataset – with data collected between 2020 and 2022 – to assess measurement invariance of the BAS-2 across 65 nations, 40 languages, gender identities, and age groups. Multi-group confirmatory factor analysis indicated that full scalar invariance was upheld across all nations, languages, gender identities, and age groups, suggesting that the unidimensional BAS-2 model has widespread applicability. There were large differences across nations and languages in latent body appreciation, while differences across gender identities and age groups were negligible-to-small. Additionally, greater body appreciation was significantly associated with higher life satisfaction, being single (versus being married or in a committed relationship), and greater rurality (versus urbanicity). Across a subset of nations where nation-level data were available, greater body appreciation was also significantly associated with greater cultural distance from the United States and greater relative income inequality. These findings suggest that the BAS-2 likely captures a nearuniversal conceptualisation of the body appreciation construct, which should facilitate further cross-cultural research.
Keywords: Body appreciation; Body Appreciation Scale-2 (BAS-2); Measurement invariance; Cross-cultural; Multi-group confirmatory factor analysis (MG-CFA);
Psychometrics; Structural analysis
Body Image
งานวิจัยนี้มีหัวหน้าโครงการคือ Prof. Viren Swami, Professor of Social Psychology at Anglia Ruskin... more งานวิจัยนี้มีหัวหน้าโครงการคือ Prof. Viren Swami, Professor of Social Psychology at Anglia Ruskin University, UK. ท่านมีความสนใจและเชี่ยวชาญงานวิจัยเกี่ยวกับ Body image within different cultural and subcultural contexts. ดังนั้นจึงเกิดโปรเจคนี้ขึ้นมาร่วมกับนักวิจัยอื่นๆอีก 259 คน ในประเทศไทย มี1คนจากจุฬา 2คนจากธรรมศาสตร์ 1คนจากมช. 1คนจากมอ. และ1คนจากมหาสารคาม ในชื่อบทความที่ถูกตีพิมพ์ในวารสาร Body Image (Volume 46, September 2023, Pages 449-466 ; SCOPUS, SJR Q1 in Applied Psychology) https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1740144523001079?via%3Dihub ''การศึกษาเรื่องความเคารพร่างกายจากทั่วโลก : โดยการตรวจสอบคุณสมบัติทางจิตมิติและความเสถียรของมาตรวัด ความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) ว่าความเคารพร่างกาย จะมีความแตกต่างอย่างไรในแต่ละประเทศและแต่ละภาษา รวมไปถึง ว่ามีความสอดคล้องกันในกลุ่มแต่ละอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุหรือไม่ อย่างไร จาก 65 ประเทศ 40 ภาษา กลุ่มอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุที่แตกต่างกัน" งานวิจัยนี้ใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติที่เรียกว่า "Multi-group confirmatory factor analysis" หรือ "การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงยืนยันในกลุ่มหลายกลุ่ม" โดยเป็นวิธีทางสถิติที่ใช้ทดสอบข้อมูลระหว่างกลุ่มเพื่อทำการเปรียบเทียบและตรวจสอบว่าโมเดลปัจจัยมีความสอดคล้องกันในกลุ่มต่าง ๆ หรือไม่ อย่างไร กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนทั้งสิ้น 56,968 คน จาก 65 ประเทศ 40 ภาษา โดยเก็บข้อมูลจากแบบวัด 5 แบบวัด (ความเคารพร่างกาย ความพึงพอใจในชีวิต ความมั่นคงทางการเงิน เขตที่พักอาศัย ดัชนีมวลกาย) และแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล (เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส สัญชาติ) เก็บข้อมูลระหว่างปี 2020-2022 ผลการวิจัยโดยสรุป พบว่า 1. มาตรวัด ความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) นี้มีเพียงองค์ประกอบเดียว หรือ 1 มิติเท่านั้น (unidimensional model) และมีความสามารถในการนำไปใช้งานได้ในขอบเขตหลากหลาย หรือกล่าวได้ว่ามีความเหมาะสมในการใช้งานที่กว้างขวางและหลากหลายสถานการณ์ 2. มีความแตกต่างขนาดใหญ่ในการเคารพร่างกายที่เกิดขึ้นเมื่อเปรียบเทียบระหว่างประเทศต่างๆกับ UK และผู้ที่ใช้ภาษาต่างๆกับภาษาอังกฤษ 3. มีความแตกต่างขนาดเล็กถึงน้อยมากในการเคารพร่างกายที่เกิดขึ้นเมื่อเปรียบเทียบระหว่าง กลุ่มอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุ 4. การเคารพร่างกายที่มากขึ้นเชื่อมโยงอย่างมีนัยสำคัญกับความพึงพอใจในชีวิตที่สูงขึ้น การเป็นโสด (เมื่อเปรียบเทียบกับคนที่สมรสแล้วหรือมีความสัมพันธ์ที่เข้มแข็ง) และพักอาศัยในเขตภูมิศาสตร์ที่ใกล้ชนบทมากขึ้น (เมื่อเปรียบเทียบกับการอยู่ในเขตเมือง) 5. ในกลุ่มประเทศบางส่วนที่มีข้อมูลระดับประเทศที่สามารถนำมาวิเคราะห์ได้ พบว่า การเคารพร่างกายที่มากขึ้นเชื่อมโยงอย่างมีนัยสำคัญกับระยะห่างทางวัฒนธรรมที่มากขึ้นจากสหรัฐอเมริกาและความไม่เสมอภาคของรายได้ที่มากขึ้น 6. ข้อค้นพบในงานวิจัยนี้ เสนอแนะว่า มาตรวัดความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) มีความน่าจะเป็นที่จะเก็บรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างกายที่ใกล้เคียงกับแนวความคิดเชิงสากลเกี่ยวกับแนวความคิดเรื่องการเคารพร่างกาย ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้เกิดการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความเคารพร่างกายเพื่อเปรียบเทียบข้ามวัฒนธรรมได้มากยิ่งขึ้นในอนาคต
Social Marketing Quarterly
Background Good hand hygiene adherence is a key factor in the prevention of hospital-acquired inf... more Background Good hand hygiene adherence is a key factor in the prevention of hospital-acquired infections. The guidelines offered by the World Health Organization for interventions to improve hand hygiene adherence in human health care can only in part be applied to veterinary medicine, and current observations of hygiene adherence in veterinary environments stress a need for decisive action. There is great potential for improvement, especially in situations in which people act habitually. Focus of the Article The focus of this article is to identify the barriers and benefits that influence hand hygiene habits in veterinary care facilities and to derive intervention strategies to promote hand hygiene habits informed by theory and formative research. Research Question This article examines two research questions. What contextual, social, and personal factors promote (benefits) and hinder (barriers) hand hygiene habits in veterinary care facilities? Which intervention strategies can be...
Body Image
งานวิจัยนี้มีหัวหน้าโครงการคือ Prof. Viren Swami, Professor of Social Psychology at Anglia Ruskin... more งานวิจัยนี้มีหัวหน้าโครงการคือ Prof. Viren Swami, Professor of Social Psychology at Anglia Ruskin University, UK. ท่านมีความสนใจและเชี่ยวชาญงานวิจัยเกี่ยวกับ Body image within different cultural and subcultural contexts. ดังนั้นจึงเกิดโปรเจคนี้ขึ้นมาร่วมกับนักวิจัยอื่นๆอีก 259 คน ในประเทศไทย มี1คนจากจุฬา 2คนจากธรรมศาสตร์ 1คนจากมช. 1คนจากมอ. และ1คนจากมหาสารคาม ในชื่อบทความที่ถูกตีพิมพ์ในวารสาร Body Image (Volume 46, September 2023, Pages 449-466 ; SCOPUS, SJR Q1 in Applied Psychology) https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1740144523001079?via%3Dihub ''การศึกษาเรื่องความเคารพร่างกายจากทั่วโลก : โดยการตรวจสอบคุณสมบัติทางจิตมิติและความเสถียรของมาตรวัด ความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) ว่าความเคารพร่างกาย จะมีความแตกต่างอย่างไรในแต่ละประเทศและแต่ละภาษา รวมไปถึง ว่ามีความสอดคล้องกันในกลุ่มแต่ละอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุหรือไม่ อย่างไร จาก 65 ประเทศ 40 ภาษา กลุ่มอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุที่แตกต่างกัน" งานวิจัยนี้ใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติที่เรียกว่า "Multi-group confirmatory factor analysis" หรือ "การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงยืนยันในกลุ่มหลายกลุ่ม" โดยเป็นวิธีทางสถิติที่ใช้ทดสอบข้อมูลระหว่างกลุ่มเพื่อทำการเปรียบเทียบและตรวจสอบว่าโมเดลปัจจัยมีความสอดคล้องกันในกลุ่มต่าง ๆ หรือไม่ อย่างไร กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนทั้งสิ้น 56,968 คน จาก 65 ประเทศ 40 ภาษา โดยเก็บข้อมูลจากแบบวัด 5 แบบวัด (ความเคารพร่างกาย ความพึงพอใจในชีวิต ความมั่นคงทางการเงิน เขตที่พักอาศัย ดัชนีมวลกาย) และแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล (เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส สัญชาติ) เก็บข้อมูลระหว่างปี 2020-2022 ผลการวิจัยโดยสรุป พบว่า 1. มาตรวัด ความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) นี้มีเพียงองค์ประกอบเดียว หรือ 1 มิติเท่านั้น (unidimensional model) และมีความสามารถในการนำไปใช้งานได้ในขอบเขตหลากหลาย หรือกล่าวได้ว่ามีความเหมาะสมในการใช้งานที่กว้างขวางและหลากหลายสถานการณ์ 2. มีความแตกต่างขนาดใหญ่ในการเคารพร่างกายที่เกิดขึ้นเมื่อเปรียบเทียบระหว่างประเทศต่างๆกับ UK และผู้ที่ใช้ภาษาต่างๆกับภาษาอังกฤษ 3. มีความแตกต่างขนาดเล็กถึงน้อยมากในการเคารพร่างกายที่เกิดขึ้นเมื่อเปรียบเทียบระหว่าง กลุ่มอัตลักษณ์ทางเพศและช่วงอายุ 4. การเคารพร่างกายที่มากขึ้นเชื่อมโยงอย่างมีนัยสำคัญกับความพึงพอใจในชีวิตที่สูงขึ้น การเป็นโสด (เมื่อเปรียบเทียบกับคนที่สมรสแล้วหรือมีความสัมพันธ์ที่เข้มแข็ง) และพักอาศัยในเขตภูมิศาสตร์ที่ใกล้ชนบทมากขึ้น (เมื่อเปรียบเทียบกับการอยู่ในเขตเมือง) 5. ในกลุ่มประเทศบางส่วนที่มีข้อมูลระดับประเทศที่สามารถนำมาวิเคราะห์ได้ พบว่า การเคารพร่างกายที่มากขึ้นเชื่อมโยงอย่างมีนัยสำคัญกับระยะห่างทางวัฒนธรรมที่มากขึ้นจากสหรัฐอเมริกาและความไม่เสมอภาคของรายได้ที่มากขึ้น 6. ข้อค้นพบในงานวิจัยนี้ เสนอแนะว่า มาตรวัดความเคารพร่างกายในเวอร์ชั่นที่ 2 (the Body Appreciation Scale-2; BAS-2) มีความน่าจะเป็นที่จะเก็บรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างกายที่ใกล้เคียงกับแนวความคิดเชิงสากลเกี่ยวกับแนวความคิดเรื่องการเคารพร่างกาย ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้เกิดการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความเคารพร่างกายเพื่อเปรียบเทียบข้ามวัฒนธรรมได้มากยิ่งขึ้นในอนาคต
Food Quality and Preference