Chaipong Samnieng - Academia.edu (original) (raw)

Uploads

Papers by Chaipong Samnieng

Research paper thumbnail of ระบบเศรษฐกิจล้านนา: การก่อตัวของการผลิตเพื่อขายสู่ทุนนิยมชายขอบ-ถักทอความคิด ชัยพงษ์

ระบบเศรษฐกิจของภาคเหนือเริ่มเปลี่ยนไปเมื่อมีการเข้ามาปฏิรูปการปกครองของสยามในช่วงทศวรรษที่ 2430 ม... more ระบบเศรษฐกิจของภาคเหนือเริ่มเปลี่ยนไปเมื่อมีการเข้ามาปฏิรูปการปกครองของสยามในช่วงทศวรรษที่ 2430 มีการจัดเก็บภาษีเป็นตัวเงินแทนสิ่งของ รวมถึงการเข้ามาควบคุมระบบการปกครอง การสร้างพรมแดนเพื่อจัดจำแนกและควบคุมผู้คน ฯลฯ (สรัสวดี อ๋องสกุล 2539) ซึ่งจากบริบทข้างต้นส่งผลให้กลุ่มพ่อค้าทางไกลได้รับผลกกระทบ เนื่องจากต้องทำตามระเบียบขั้นตอนที่ซับซ้อน แตกต่างจากรัฐจารีตที่คุ้นเคย และภายหลังจากเกิดกบฏพญาผาบ (2432) กบฏเงี้ยวเมืองแพร่ (2445) กลุ่มพ่อค้าเงี้ยว ฮ่อ ก็ลดบทบาทลง กลายมาเป็นพ่อค้าจีนเข้ามาแทนที่

Research paper thumbnail of ถอดรื้อประวัติศาสตร์ท้องถิ่นราชาชาตินิยม Final

PP บรรยาย "ถอดรื้อประวัติศาสตร์ท้องถิ่นราชาชาตินิยม" ความคิดรัฐ รัฐชาติ-การสร้างอาณานิคมภายใน กา... more PP บรรยาย "ถอดรื้อประวัติศาสตร์ท้องถิ่นราชาชาตินิยม" ความคิดรัฐ รัฐชาติ-การสร้างอาณานิคมภายใน
การเกิดรัฐไทย-เขียนประวัติศาสตร์
คนอื่นในแดนตน-The other - คนอื่น-ลาว
สร้างพื้นที่ใหม่
เขียนอดีตใหม่
ถอดรื้อประวัติศาสตร์ท้องถิ่นราชาชาตินิยม

Research paper thumbnail of ชาวนาการเมือง: การเปลี่ยนมโนทัศน์จากชาวบ้านผู้ตื่นตัวสู่ผู้ประกอบการทางการเมือง-

หนังสือรวมบทความทางวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉริยา ชูวง... more หนังสือรวมบทความทางวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉริยา ชูวงศ์เลิศ และ ดร.บุศรินทร์ เลิศชวลิตสกุล เป็นบรรณาธิการ
ภายใต้โครงการจัดพิมพ์หนังสือรวมเล่ม 16 ปี คณะสังคมศาสตร์
เพื่อเผยแพร่บทความทางวิชาการและงานวิจัยของคณาจารย์ภายในคณะฯ และนิสิตปัจจุบันและศิษย์เก่าให้ แก่สาธารณชนผู้สนใจทั่วไปในวงกว้าง

Research paper thumbnail of อำมาตยาธิปไตยไทยกับการฉุดรั้งสังคมให้ก้าวยำอยู่กับที่: มองสังคมไทยผ่าน Thailand, society and politics ของ John L. S. Girling

Research paper thumbnail of การก่อตัวของกลุ่มทุนการเมืองในกระแสการพัฒนาภาคเหนือ (The Formation of Political Capital Group in the Development of the Northern Thailand)

During the past decades, there has been change in Thailand's social structure in many aspects, ec... more During the past decades, there has been change in Thailand's social structure in many aspects, economy, occupation, and way of life. This has consequently brought about a new type of rural people which corresponds with the world's transformation of economic structure. Hence, people in rural areas do not live separately from a whole society. Such transformation has not only shaped a lifestyle but has also constructed identity, emotion, and desire of people in rural areas which have never been the same. People have taken part in the politics through "election" since it is a significant mechanism to direct the "public policy". They have entered to a political sphere as politic agents enthusiastically under diverse forms of relationships in order to negotiate with state as well as new forms of capital. This paper aims to examine the politics and political mobilization of political actors which is different from the study on the politics in institutional-structural perspective. The institutional-structural perspective has overshadowed multidimensional characters of the politics and has led to a myth and a trap of the binary opposition that obstructs an understanding about the politics in a thorough way. An approach to pay attention to practice of individual in everyday life, the ways she/he defines, feels and conceive the politics, shall help us to understand power relation in other dimensions.

Research paper thumbnail of ประวัติศาสตร์กับมานุษยวิทยาเอกภาพของการศึกษาความเคลื่อนไหวทางสังคม-อานันท์

Research paper thumbnail of Even dictators can't monopolise a poll

Four years under the military regime headed by Gen Prayut Chan-o-cha, the country has encountered... more Four years under the military regime headed by Gen Prayut Chan-o-cha, the country has encountered a new socio-political phenomenon in which the men in green have tried to maintain their power.

Research paper thumbnail of ประวัติศาสตร์การพัฒนาภาคเหนือ จากทางรถไฟสู่การแย่งชิงทรัพยากร-ชัยพงษ์ สำเนียง และ พิสิษฎ์ นาสี

Research paper thumbnail of โครงการประเมินผลลัพธ์และผลกระทบชุดโครงการวิจัยมุ่งเป้า ตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศด้านมนุษยศาสตร์

Research paper thumbnail of โครงการ "ความสั มพั นธ์ ไร้ พรมแดน: การจั ดการทรั พยากรสองริ มฝั ่ งโขง ของชาวเชี ยงแสน-เชี ยงของ และต้ นผึ ้ ง-ห้ วยทราย" โดย นายชั ยพงษ์ สํ าเนี ยง และคณะ กรกฎาคม 2557

Research paper thumbnail of การเมืองใหม่ VS สายใยและเครือข่ายท้องถิ่น ทุน การกระจายอำนาจ และเลือกตั้งท้องถิ่น

พื้นที่การเมืองท้องถิ่นก็ถือเป็นการเมืองจากเบื้องล่างด้วย (politics from below) เพราะอำนาจท้องถิ่... more พื้นที่การเมืองท้องถิ่นก็ถือเป็นการเมืองจากเบื้องล่างด้วย (politics from below) เพราะอำนาจท้องถิ่นไม่ได้ถูกผูกขาดอยู่กับกลุ่มคนในวงจำกัด แต่ซ้อนทับกันอยู่ในเครือข่ายความสัมพันธ์หลายรูปแบบ ซึ่งโยงใยออกไปอย่างกว้างขวาง การเมืองท้องถิ่นจึงไม่ได้จำกัดอยู่ในขอบเขตทางกายภาพของท้องถิ่นเท่านั้น หากมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันอย่างซับซ้อนกับการเมืองหลายระดับ ผ่านการเลือกตั้งที่เปิดให้เป็นพื้นต่อรองและซ้อนทับกันระหว่างการเมืองท้องถิ่นกับการเมืองระดับชาติ ในการต่อสู้ของคนท้องถิ่นเพื่อเข้าถึงอำนาจในการจัดสรรทรัพยากร (ชัยพงษ์ สำเนียง 2562)

Research paper thumbnail of แนวคิดมาร์กซิสต์กับอิทธิพลและผลกระทบต่อสังคมไทย-อานันท์ กาญจนพันธุ์

Research paper thumbnail of สัมภาษณ์ อ.ชยันต์ วรรธนะภูติ : วิวัฒนาการการก่อตัวของภาคประชาสังคมในภาคเหนือและสังคมไทย - ชัยพงษ์ สำเนียง พรอินทร์ ชัยบัตร์ และประสิทธิ์ ครุธาโรจน์ สัมภาษณ์และเรียบเรียง

Research paper thumbnail of ชาวบ้านผู้ตื่นตัว ชาวนาการเมือง และผู้ประกอบการทางการเมือง

This research aims to explore "the politics" from the perspectives of villagers who are suppresse... more This research aims to explore "the politics" from the perspectives of villagers who are suppressed by a stupid-poor-sick discourse. This discourse underpins a belief that villagers lack of an abstract way of thinking. This research adopts the concepts of the politics of everyday life and the political spaces. The findings reveal that the politics of villagers is not in accordance with the general understanding of people in Thai society, in which a stupid-poor-sick discourse has powerful influence. In fact, villagers have formed a political life through multiple relationships and everyday politics. They connect themselves with the politics at local and national levels. Furthermore, they create new strategies and institutional mechanism based on old social orders called "local governance." This is a bottom-up movement aiming 1 นำเสนอในงานการประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 14 "iHumanities: เทคโนโลยี สุขภาพ และชีวิต" ในวันที่ 8-9 กั นยายน 2563 ณ อาคาร 4 คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล หน้า 43-57

Research paper thumbnail of การเมืองดิจิตอล (digital politics):  การเปลี่ยนภูมิทัศน์ทางการเมืองของคนกลุ่มใหม่ในโลกเสมือน

Research paper thumbnail of ราชาชาตินิยมกับการเขียนประวัติศาสตร์ชาติไทย และประวัติศาสตร์กระแสอื่นในฐานะเชิงอรรถ

Research paper thumbnail of ความเห็นเกี่ยวกับวิทยานิพนธ์ชัยพงษ์ ของ ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด

Research paper thumbnail of ประเทศไทย จากยุคแรงงานล้นเหลือถึงการเข้ามาของแรงงานข้ามชาติ: ความเปลี่ยนแปลงของแรงงานในประเทศไทยสู่การแสวงหาแรงงานทดแทน

วารสารเจ้าพระยา, 2014

ประเทศไทยในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา เกิดความเปลี่ยนแปลงในหลาย ๆ ด้าน หนึ่งในนั้นคือการเปลี่ยนแปลงด้านแ... more ประเทศไทยในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา เกิดความเปลี่ยนแปลงในหลาย ๆ ด้าน หนึ่งในนั้นคือการเปลี่ยนแปลงด้านแรงงาน ที่ครั้งหนึ่งมีภาวะล้นเหลือในภาคการเกษตร และต่อมามีการโยกย้ายแรงงานจากภาคการเกษตรสู่ภาคอุตสาหกรรมและบริการ จนทำให้แรงงานในภาคการเกษตรลดลงอย่างต่อเนื่อง อันเป็นปัจจัยหนึ่งของการเข้ามาของแรงงานข้ามชาติ เพื่อเติมเต็มในสัดส่วนของแรงงานที่หายไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งแรงงานจากประเทศเพื่อนบ้าน และสัดส่วนของแรงงานข้ามชาติที่เพิ่มขึ้น ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจ แรงงานข้ามชาติกลายเป็นฟันเฟืองสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยในปัจจุบัน

Research paper thumbnail of ความเหลื่อมล้ำในการปฏิรูปที่ดินในสังคมไทย

Research paper thumbnail of คิดของทฤษฎีและวิธีวิทยาของการทะลุกรอบคิด มิติใหม่ในมานุษยวิทยาไทย - อานันท์ กาญจนพันธุ์

Research paper thumbnail of ระบบเศรษฐกิจล้านนา: การก่อตัวของการผลิตเพื่อขายสู่ทุนนิยมชายขอบ-ถักทอความคิด ชัยพงษ์

ระบบเศรษฐกิจของภาคเหนือเริ่มเปลี่ยนไปเมื่อมีการเข้ามาปฏิรูปการปกครองของสยามในช่วงทศวรรษที่ 2430 ม... more ระบบเศรษฐกิจของภาคเหนือเริ่มเปลี่ยนไปเมื่อมีการเข้ามาปฏิรูปการปกครองของสยามในช่วงทศวรรษที่ 2430 มีการจัดเก็บภาษีเป็นตัวเงินแทนสิ่งของ รวมถึงการเข้ามาควบคุมระบบการปกครอง การสร้างพรมแดนเพื่อจัดจำแนกและควบคุมผู้คน ฯลฯ (สรัสวดี อ๋องสกุล 2539) ซึ่งจากบริบทข้างต้นส่งผลให้กลุ่มพ่อค้าทางไกลได้รับผลกกระทบ เนื่องจากต้องทำตามระเบียบขั้นตอนที่ซับซ้อน แตกต่างจากรัฐจารีตที่คุ้นเคย และภายหลังจากเกิดกบฏพญาผาบ (2432) กบฏเงี้ยวเมืองแพร่ (2445) กลุ่มพ่อค้าเงี้ยว ฮ่อ ก็ลดบทบาทลง กลายมาเป็นพ่อค้าจีนเข้ามาแทนที่

Research paper thumbnail of ถอดรื้อประวัติศาสตร์ท้องถิ่นราชาชาตินิยม Final

PP บรรยาย "ถอดรื้อประวัติศาสตร์ท้องถิ่นราชาชาตินิยม" ความคิดรัฐ รัฐชาติ-การสร้างอาณานิคมภายใน กา... more PP บรรยาย "ถอดรื้อประวัติศาสตร์ท้องถิ่นราชาชาตินิยม" ความคิดรัฐ รัฐชาติ-การสร้างอาณานิคมภายใน
การเกิดรัฐไทย-เขียนประวัติศาสตร์
คนอื่นในแดนตน-The other - คนอื่น-ลาว
สร้างพื้นที่ใหม่
เขียนอดีตใหม่
ถอดรื้อประวัติศาสตร์ท้องถิ่นราชาชาตินิยม

Research paper thumbnail of ชาวนาการเมือง: การเปลี่ยนมโนทัศน์จากชาวบ้านผู้ตื่นตัวสู่ผู้ประกอบการทางการเมือง-

หนังสือรวมบทความทางวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉริยา ชูวง... more หนังสือรวมบทความทางวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉริยา ชูวงศ์เลิศ และ ดร.บุศรินทร์ เลิศชวลิตสกุล เป็นบรรณาธิการ
ภายใต้โครงการจัดพิมพ์หนังสือรวมเล่ม 16 ปี คณะสังคมศาสตร์
เพื่อเผยแพร่บทความทางวิชาการและงานวิจัยของคณาจารย์ภายในคณะฯ และนิสิตปัจจุบันและศิษย์เก่าให้ แก่สาธารณชนผู้สนใจทั่วไปในวงกว้าง

Research paper thumbnail of อำมาตยาธิปไตยไทยกับการฉุดรั้งสังคมให้ก้าวยำอยู่กับที่: มองสังคมไทยผ่าน Thailand, society and politics ของ John L. S. Girling

Research paper thumbnail of การก่อตัวของกลุ่มทุนการเมืองในกระแสการพัฒนาภาคเหนือ (The Formation of Political Capital Group in the Development of the Northern Thailand)

During the past decades, there has been change in Thailand's social structure in many aspects, ec... more During the past decades, there has been change in Thailand's social structure in many aspects, economy, occupation, and way of life. This has consequently brought about a new type of rural people which corresponds with the world's transformation of economic structure. Hence, people in rural areas do not live separately from a whole society. Such transformation has not only shaped a lifestyle but has also constructed identity, emotion, and desire of people in rural areas which have never been the same. People have taken part in the politics through "election" since it is a significant mechanism to direct the "public policy". They have entered to a political sphere as politic agents enthusiastically under diverse forms of relationships in order to negotiate with state as well as new forms of capital. This paper aims to examine the politics and political mobilization of political actors which is different from the study on the politics in institutional-structural perspective. The institutional-structural perspective has overshadowed multidimensional characters of the politics and has led to a myth and a trap of the binary opposition that obstructs an understanding about the politics in a thorough way. An approach to pay attention to practice of individual in everyday life, the ways she/he defines, feels and conceive the politics, shall help us to understand power relation in other dimensions.

Research paper thumbnail of ประวัติศาสตร์กับมานุษยวิทยาเอกภาพของการศึกษาความเคลื่อนไหวทางสังคม-อานันท์

Research paper thumbnail of Even dictators can't monopolise a poll

Four years under the military regime headed by Gen Prayut Chan-o-cha, the country has encountered... more Four years under the military regime headed by Gen Prayut Chan-o-cha, the country has encountered a new socio-political phenomenon in which the men in green have tried to maintain their power.

Research paper thumbnail of ประวัติศาสตร์การพัฒนาภาคเหนือ จากทางรถไฟสู่การแย่งชิงทรัพยากร-ชัยพงษ์ สำเนียง และ พิสิษฎ์ นาสี

Research paper thumbnail of โครงการประเมินผลลัพธ์และผลกระทบชุดโครงการวิจัยมุ่งเป้า ตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศด้านมนุษยศาสตร์

Research paper thumbnail of โครงการ "ความสั มพั นธ์ ไร้ พรมแดน: การจั ดการทรั พยากรสองริ มฝั ่ งโขง ของชาวเชี ยงแสน-เชี ยงของ และต้ นผึ ้ ง-ห้ วยทราย" โดย นายชั ยพงษ์ สํ าเนี ยง และคณะ กรกฎาคม 2557

Research paper thumbnail of การเมืองใหม่ VS สายใยและเครือข่ายท้องถิ่น ทุน การกระจายอำนาจ และเลือกตั้งท้องถิ่น

พื้นที่การเมืองท้องถิ่นก็ถือเป็นการเมืองจากเบื้องล่างด้วย (politics from below) เพราะอำนาจท้องถิ่... more พื้นที่การเมืองท้องถิ่นก็ถือเป็นการเมืองจากเบื้องล่างด้วย (politics from below) เพราะอำนาจท้องถิ่นไม่ได้ถูกผูกขาดอยู่กับกลุ่มคนในวงจำกัด แต่ซ้อนทับกันอยู่ในเครือข่ายความสัมพันธ์หลายรูปแบบ ซึ่งโยงใยออกไปอย่างกว้างขวาง การเมืองท้องถิ่นจึงไม่ได้จำกัดอยู่ในขอบเขตทางกายภาพของท้องถิ่นเท่านั้น หากมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันอย่างซับซ้อนกับการเมืองหลายระดับ ผ่านการเลือกตั้งที่เปิดให้เป็นพื้นต่อรองและซ้อนทับกันระหว่างการเมืองท้องถิ่นกับการเมืองระดับชาติ ในการต่อสู้ของคนท้องถิ่นเพื่อเข้าถึงอำนาจในการจัดสรรทรัพยากร (ชัยพงษ์ สำเนียง 2562)

Research paper thumbnail of แนวคิดมาร์กซิสต์กับอิทธิพลและผลกระทบต่อสังคมไทย-อานันท์ กาญจนพันธุ์

Research paper thumbnail of สัมภาษณ์ อ.ชยันต์ วรรธนะภูติ : วิวัฒนาการการก่อตัวของภาคประชาสังคมในภาคเหนือและสังคมไทย - ชัยพงษ์ สำเนียง พรอินทร์ ชัยบัตร์ และประสิทธิ์ ครุธาโรจน์ สัมภาษณ์และเรียบเรียง

Research paper thumbnail of ชาวบ้านผู้ตื่นตัว ชาวนาการเมือง และผู้ประกอบการทางการเมือง

This research aims to explore "the politics" from the perspectives of villagers who are suppresse... more This research aims to explore "the politics" from the perspectives of villagers who are suppressed by a stupid-poor-sick discourse. This discourse underpins a belief that villagers lack of an abstract way of thinking. This research adopts the concepts of the politics of everyday life and the political spaces. The findings reveal that the politics of villagers is not in accordance with the general understanding of people in Thai society, in which a stupid-poor-sick discourse has powerful influence. In fact, villagers have formed a political life through multiple relationships and everyday politics. They connect themselves with the politics at local and national levels. Furthermore, they create new strategies and institutional mechanism based on old social orders called "local governance." This is a bottom-up movement aiming 1 นำเสนอในงานการประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 14 "iHumanities: เทคโนโลยี สุขภาพ และชีวิต" ในวันที่ 8-9 กั นยายน 2563 ณ อาคาร 4 คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล หน้า 43-57

Research paper thumbnail of การเมืองดิจิตอล (digital politics):  การเปลี่ยนภูมิทัศน์ทางการเมืองของคนกลุ่มใหม่ในโลกเสมือน

Research paper thumbnail of ราชาชาตินิยมกับการเขียนประวัติศาสตร์ชาติไทย และประวัติศาสตร์กระแสอื่นในฐานะเชิงอรรถ

Research paper thumbnail of ความเห็นเกี่ยวกับวิทยานิพนธ์ชัยพงษ์ ของ ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด

Research paper thumbnail of ประเทศไทย จากยุคแรงงานล้นเหลือถึงการเข้ามาของแรงงานข้ามชาติ: ความเปลี่ยนแปลงของแรงงานในประเทศไทยสู่การแสวงหาแรงงานทดแทน

วารสารเจ้าพระยา, 2014

ประเทศไทยในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา เกิดความเปลี่ยนแปลงในหลาย ๆ ด้าน หนึ่งในนั้นคือการเปลี่ยนแปลงด้านแ... more ประเทศไทยในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา เกิดความเปลี่ยนแปลงในหลาย ๆ ด้าน หนึ่งในนั้นคือการเปลี่ยนแปลงด้านแรงงาน ที่ครั้งหนึ่งมีภาวะล้นเหลือในภาคการเกษตร และต่อมามีการโยกย้ายแรงงานจากภาคการเกษตรสู่ภาคอุตสาหกรรมและบริการ จนทำให้แรงงานในภาคการเกษตรลดลงอย่างต่อเนื่อง อันเป็นปัจจัยหนึ่งของการเข้ามาของแรงงานข้ามชาติ เพื่อเติมเต็มในสัดส่วนของแรงงานที่หายไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งแรงงานจากประเทศเพื่อนบ้าน และสัดส่วนของแรงงานข้ามชาติที่เพิ่มขึ้น ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจ แรงงานข้ามชาติกลายเป็นฟันเฟืองสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยในปัจจุบัน

Research paper thumbnail of ความเหลื่อมล้ำในการปฏิรูปที่ดินในสังคมไทย

Research paper thumbnail of คิดของทฤษฎีและวิธีวิทยาของการทะลุกรอบคิด มิติใหม่ในมานุษยวิทยาไทย - อานันท์ กาญจนพันธุ์

Research paper thumbnail of การเลื อกตั้ง: การสร้างเครือข่ายและสายใยความสัมพันธ์ในการเมือง ระดับท้องถิ่น Elections: network building and the web of relationships in local politics in Thailand* พิสิษฏ์ นาสี และชัยพงษ์ สำเนียง

Research paper thumbnail of ปก - พลวัตกลุ่มทุนการเมืองในภาคเหนือ Cover

Research paper thumbnail of บทความแนวคิดชาตินิยมกับพหุวัฒนธรรม  .pdf

Research paper thumbnail of โครงสร้าง วิสัยทัศน์ การขับเคลื่อนสุขภาวะ และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น

This study focused on the effect of structure (type/size) on the implementation and achievement o... more This study focused on the effect of structure (type/size) on the implementation and achievement of local authorities (LAs), using the Structure-Conduct-Performance (SCP) paradigm. This study aimed to: 1) investigate the vision and scope of LAs from the perspective of their leaders, 2) examine, via a composite index, the readiness and potential of local authorities to drive local well-being and tourism management, 3) study and analyze natural resource policies relating to land, water, mineral, forest, marine, and coastal resources, along with the laws and regulations that hinder the ability of local authorities to manage these resources, and 4) recommend changes in public policy to more effectively decentralize.

Research paper thumbnail of ชนบทไทยจากอดีตสู่อนาคต / จามะรี เชียงทอง

Research paper thumbnail of วิวัฒนาการบุกเบิกที่ดินทำกินในเขตป่า กรณีศึกษาภาคเหนือตอนบน_มิ่งสรรพ์_อานันท์.pdf

Research paper thumbnail of การศึกษานโยบายทรัพยากรธรรมชาติเพื่อขับเคลื่อนการกระจายอำนาจสู่ อปท. และชุมชน_MK.pdf

Research paper thumbnail of รายงานฉบับสมบูรณ โครงการยอยที่ 2 โครงการสํารวจและการศึกษาระดับพื้นที่เกี่ยวกับขอจํากัดของการบริหารจัดการที่ดีของ อปท.

เอกสารหมายเลข 2 โครงการย อยที ่ 2 โครงการสํ ารวจและการศึ กษาระดั บพื ้ นที ่ เกี ่ ยวกั บข อจํ ... more เอกสารหมายเลข 2 โครงการย อยที ่ 2 โครงการสํ ารวจและการศึ กษาระดั บพื ้ นที ่ เกี ่ ยวกั บข อจํ ากั ด ของการบริ หารจั ดการที ่ ดี ของ อปท. iv หั วข อ หน า 5.7 การจั ดการทรั พยากรป าไม จั งหวั ดกาญจนบุ รี 131 5.7.1 สภาพป ญหาการบุ กรุ กที ่ ดิ นในเขตป าไม จั งหวั ดกาญจนบุ รี 131 5.7.2 การบุ กรุ กที ่ ดิ นในเขตอุ ทยานแห งชาติ : กรณี หมู  บ านทิ พุ เย อ.ทองผาภู มิ 132 5.7.3 แนวทางแก ไขป ญหาการบุ กรุ กที ่ ดิ นในเขตป าไม 133 5.7.4 การจั ดการทรั พยากรธรณี ของจั งหวั ดกาญจนบุ รี 134 5.7.5 อุ ปสรรคทางกฎหมายของการจั ดการทรั พยากรป าไม ในจั งหวั ดกาญจนบุ รี 137 5.8 การบริ หารทรั พยากรป าไม และที ่ ดิ น: กรณี ศึ กษา อปท. 4 แห ง 139 5.8.1 องค การบริ หารส วนตํ าบลไทรโยค 139 5.8.2 องค การบริ หารส วนตํ าบลท าเสา 146 5.8.3 องค การบริ หารส วนตํ าบลสิ งห 147 5.8.4 องค การบริ หารส วนตํ าบลศรี มงคล 150 5.8.5 บทสรุ ป 150 บทที ่ 6 การศึ กษาป ญหาป าไม และที ่ ดิ น: จั งหวั ดลํ าพู น 153 6.1 กรณี ศึ กษาโฉนดชุ มชน : เทศบาลตํ าบลศรี เตี ้ ย 153 6.1.1 ความขั ดแย งของป ญหาที ่ ดิ นในจั งหวั ดเชี ยงใหม -ลํ าพู น 154 6.1.2 ขบวนการเคลื ่ อนไหวของประชาชนเพื ่ อปฏิ รู ปการถื อครอง ที ่ ดิ นในภาคเหนื อ 156 6.1.3 กรณี ศึ กษาตํ าบลศรี เตี ้ ย อํ าเภอบ านโฮ ง จั งหวั ดลํ าพู น 157 6.1.4 สภาพทั ่ วไปของเทศบาลตํ าบลศรี เตี ้ ย อํ าเภอบ านโฮ ง จั งหวั ดลํ าพู น 158 6.1.5 ป ญหาที ่ ดิ นในพื ้ นที ่ 158 6.1.6 การต อสู  ของชาวบ านศรี เตี ้ ย 160 6.1.7 บทบาทของ อปท. 161 6.1.8 การเพิ ่ มอํ านาจของเทศบาล: ข อมู ลจากการสั มภาษณ 163 6.2 กรณี ศึ กษา อบต.แม ทา: การออกข อบั ญญั ติ ป าชุ มชน 164 6.2.1 ข อมู ลทั ่ วไปของ อบต. แม ทา 164 6.2.2 การจั ดการทรั พยากรที ่ ดิ น ป าไม และความเป นมาของ การจั ดตั ้ งป าชุ มชน 165 6.2.3 ข อบั ญญั ติ ตํ าบลแม ทา เรื ่ องการจั ดการป าชุ มชนตํ าบลแม ทา พ.ศ. 2550 168 ชุ ดโครงการวิ จั ย เอกสารหมายเลข 2 การศึ กษานโยบายสาธารณะเพื ่ อขั บเคลื ่ อนการกระจายอํ านาจสู  อปท. และชุ มชน v หั วข อ หน า 6.2.4 การจั ดการทรั พยากรอื ่ นๆ 171 6.2.5 ป ญหาอุ ปสรรคของการกระจายอํ านาจ 172 6.3 สรุ ป 173 บทที ่ 7 กรณี ศึ กษาการจั ดการน้ ํ า 175 7.1

Research paper thumbnail of การเลือกตั้ง:การสร้างเครือข่ายและสายใยความสัมพันธ์ในการเมืองระดับท้องถิ่น

วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 2013

การเข้าสู่พื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของประชาชนผ่าน “การเลือกตั้ง”ได้สร้างอำนาจต่อรองให้ประชา... more การเข้าสู่พื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของประชาชนผ่าน “การเลือกตั้ง”ได้สร้างอำนาจต่อรองให้ประชาชนอย่างมหาศาล ผ่านความสัมพันธ์ของกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ เช่น กลุ่มเครือญาติกลุ่มทรัพยากร กลุ่มทุน ฯลฯ ทำให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นพื้นที่ “เปิด” ที่ประชาชนใช้เป็น “พื้นที่” เพื่อสร้างสายสัมพันธ์กับรัฐแบบใหม่ได้รวมถึงมีการเลือกตั้งในระดับท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องทำให้นักการเมืองท้องถิ่นต้องสร้างความสัมพันธ์กับประชาชนอย่างหลากหลาย ทำให้“การเลือกตั้ง” เป็นเครื่องมือสำคัญของประชาชนในการต่อรองกับนักการเมืองท้องถิ่น และการเลือกตั้งยังเปิดโอกาสให้“คนหน้าใหม่” เข้าสู่พื้นที่ทางการเมืองอย่างต่อเนื่อง ทำให้การเมืองท้องถิ่นมิใช่พื้นที่ผูกขาดของกลุ่มบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ฉะนั้น การเมืองในระดับท้องถิ่นจึงเป็น “พื้นที่เปิด” ที่พร้อมรับ “ผู้เล่นใหม่” เข้าสู่พื้นที่ได้อย่างไม่จำกัด ภายใต้การสร้างความสัมพันธ์ที่หลากหลาย เป็น “สนามของการต่อรอง” ที่สำคัญและทำให้เกิดพื้นที่ที่ประชาชน “ปกครองตนเอง”