KunKroo TUm | Khon Kaen University (original) (raw)
Uploads
Papers by KunKroo TUm
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่องการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยใช้การวัดและการประเมินผลแนวใหม่
การพัฒนาระบบการประมวลผลระดับความสามารถทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนแบบพหุมิติโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน... more การพัฒนาระบบการประมวลผลระดับความสามารถทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนแบบพหุมิติโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรายงานผลการประเมินเพื่อการเรียนรู้
เจนรบ โกรธา. 2562. การพัฒนาระบบการประมวลผลระดับความสามารถทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนแบบพหุมิติโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรายงานผลการประเมินเพื่อการเรียนรู้. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัขอนแก่น.
การวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระ... more การวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สาระที่ 4 เทคโนโลยี)
การสร้างแบบวัดแบบวัดความฉลาดทางอารมณ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มีเครื่องมือที่ใช้ในการ... more การสร้างแบบวัดแบบวัดความฉลาดทางอารมณ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มีเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบวัดแบบวัดความฉลาดทางอารมณ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยแบ่งออกเป็น 5 ด้าน คือ การตระหนักรู้ตนเอง จำนวน 3 ข้อ ด้านความสามารถในการควบคุมตนเอง จำนวน 5 ข้อ ด้านความสามารถสร้างแรงจูงใจตนเองได้ จำนวน 4 ข้อ ด้านการเอาใจเขามาใส่ใจเรา จำนวน 5 ข้อ และด้านการมีทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ จำนวน 8 ข้อ โดยเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ คือ ไม่จริงเลย จริงเล็กน้อย ปานกลาง จริงมาก และจริงที่สุด มีการสร้างและพัฒนาเครื่องมือ
รายงานเรื่อง “การประเมินโครงการ (Project Evaluation)” ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา รายวิชา 217 ... more รายงานเรื่อง “การประเมินโครงการ (Project Evaluation)” ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา รายวิชา 217 703 ระเบียบวิธีวิทยาการประเมินทางการศึกษา สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภาคปลาย ปีการศึกษา 2559 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการประเมินโครงการ ซึ่งมีความเกี่ยวข้องเกือบทุกหน่วยงานและมีความจำเป็นที่ผู้จัดทำจะต้องประเมินว่าการดำเนินโครงการนั้นประสบความสำเร็จหรือไม่ ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาการประเมินโครงการไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใดผู้จัดทำน้อมรับความผิดพลาดทั้งหมดที่เกิดขึ้นและขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย
ประเทศไทยต้องการเน้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ มีความรู้ และมีทักษะที่เกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ จึ... more ประเทศไทยต้องการเน้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ มีความรู้ และมีทักษะที่เกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ จึงมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย รวมทั้งวิธีการวัดและประเมินผลเองก็หลากหลายตามมาด้วยเช่นกัน และจากการศึกษาเกี่ยวกับการทำแบบทดสอบมาตรฐานเพื่อวัดและประเมินผลทักษะการรู้สารสนเทศ พบว่ายังไม่มี การทำแบบทดสอบ หรือแบบประเมินมาตรฐานในประเทศไทย ดังนั้นผู้วิจัยจึงประสงค์จะทำการพัฒนาแบบประเมินมาตรฐาน ทักษะการรู้สารสนเทศ ภาษาไทย โดยยึดตามเกณฑ์มาตรฐานของสมาคม ห้องสมุดวิทยาลัย และวิจัยแห่งสหรัฐอเมริกา (Association of College and Research Libraries- ACRL) โดยยึดหลักมาตรฐานการรู้สารสนเทศสำหรับนักเริยน (Information Literacy Standards for Schools) เนื่องจากมาตรฐานดังกล่าว มีความละเอียดครอบคลุมในหลักการรู้สารสนเทศ และเป็นมาตรฐานกำหนดใช้สำหรับระดับมัธยมศึกษาโดยเฉพาะ
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพกรอบการประเมินการความก้าวหน้าในการเรียนรู้ (Learning Progression) ทักษะการรู้สารสนเทศ (Information literacy Skill) สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาและ เพื่อประเมินการความก้าวหน้าในการเรียนรู้ (Learning Progression) ทักษะการรู้สารสนเทศ (Information literacy Skill) สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา โดยอาศัยแนวความคิดเกี่ยวกับ Four Building Blocks ได้อธิบายถึง Construct Modeling จาก The four Building blocks. โดยเริ่มต้นจากการอธิบายในภาพรวมและแนวคิดหลักก่อน จากนั้นอธิบายความหมายของการวัด ว่าต้องมีการกำหนดประเภทของการสังเกต คุณลักษณะของประชากรเองส่งผลต่อคุณลักษณะของการวัดด้วย การกำหนดคุณลักษณะของกลุ่มประชากรจะต้องสอดคล้องกับความจริงที่ต้องการวัด เพื่อให้ได้กระวนการวัดที่สมบูรณ์ วัถตุประสงค์หลักของการวัด ก็เพื่อ เป็นการอธิบาย เตรียมการอย่างมีเหตุผล
จาการศึกษาพบว่ากรอบการประเมินการความก้าวหน้าในการเรียนรู้ (Learning Progression) ทักษะการรู้สารสนเทศ (Information literacy Skill) สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา พบว่ามีความน่าเชื่อมั่น (EAP/PV RELIABILITY: 0.864) มีความเชื่อมั่นอยู่ระดับ Coefficient Alpha: 0.88 แบบประเมินความก้าวหน้าในการเรียนรู้ (Learning Progression) ทักษะการรู้สารสนเทศ (Information literacy Skill) สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา จำนวนทั้งหมด 9 ข้อ พบว่าข้อสอบมีค่าความยากระดับปานกลางค่อนไปทางง่าย เหมาะสำหรับนักเรียนที่มีความสามารถระดับกลาง ค่า MNSQ อยู่ในช่วงที่ยอมรับได้จำนวนทั้งหมด 9 ข้อ
การจัดการศึกษามีความจำเป็นที่จะต้องกำหนดจุดมุ่งหมายที่มีความชัดเจน เพื่อช่วยในการกำหนดคุณลักษณะท... more การจัดการศึกษามีความจำเป็นที่จะต้องกำหนดจุดมุ่งหมายที่มีความชัดเจน เพื่อช่วยในการกำหนดคุณลักษณะที่ต้องการของผู้เรียน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการวางแผนเพื่อใช้การจัดการเรียนรู้ จุดมุ่งหมายยังมีส่วนช่วยในการกำหนดทิศทางของการศึกษา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้หรือกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม การวัดและการประเมินผลจึงเข้ามามีบทบาทสำคัญในการตัดสินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนว่าสำเร็จตรงตามจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้หรือไม่ รวมทั้งยังช่วยให้สารสนเทศเพื่อช่วยในการปรับปรุงละพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้สอน เมื่อการวัดและการประเมินผลเข้ามามีบทบาทสำคัญ ทำให้ทฤษฏีการทดสอบเข้ามามีบทบาทสำคัญในการวัดและประเมินผล เนื่องจากการการวัดและประเมินผลทางการศึกษานั้นเป็นสิ่งที่อยู่ภายในไม่สามารถวัดออกมาได้โดยตรง เพื่อทำความเข้าใจในสิ่งที่ต้องการวัดตามคุณลักษณะที่มุ่งวัด โครงสร้างของการวัด และการพัฒนาเครื่องมือ จึงจำเป็นต้องอาศัยทฤษฏีการทดสอบทดสอบเข้ามาช่วย โดยทฤษฏีการทดสอบนั้นหากแบ่งประเภทเป็น 2 ประเภทหลักใหญ่ๆ ได้แก่ ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม (Classical Test Theory) และทฤษฎีการทดสอบแนวใหม่ (Modern Test Theory)
ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม (Classical Test Theory) จะเน้นไปทางการตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่สังเกตได้กับคะแนนที่แท้จริง และวิเคราะห์คุณภาพโดยส่วนรวมของข้อสอบและแบบสอบ โดยใช้การวิเคราะห์คุณภาพของข้อสอบและแบบทดสอบ โดยใช้โมเดลคะแนนจริงแบบดั้งเดิม การใช้ทฤษฏีความเที่ยงและความคลาดเคลื่อน การใช้ความตรงเพื่อตรวจสอบความตรงต่างๆ หลักการการสร้างแบบทดสอบ และใช้หลักการวิเคราะห์ข้อสอบ ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิมยังมีข้อด้อยของข้อตกลงเบื้องต้น มีข้อจำกัดของฐานความเชื่อเกี่ยวกับคะแนนความคลาดเคลื่อนและค่าพารามิเตอร์ของข้อสอบและแบบทดสอบ จึงส่งผลให้มีนักทฤษฏีการทดสอบหลายท่านได้ก่อการปฏิรูปแนวคิดเกิดขึ้น สู่ทฤษฎีการทดสอบแนวใหม่ (Modern Test Theory) เพื่อคลายข้อตกลงเบื้องต้น และแก้ไขจุดอ่อนบางประการ
ทฤษฎีการทดสอบแนวใหม่ (Modern Test Theory) จะมุ่งเน้นการขยายแนวคิดของทฤษฏีการทดสอบแบบดั้งเดิมให้มีขอบเขตที่กว้างขวาง และมีความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น โดยปรับข้อตกลงให้มีความสมเหตุสมผล ตามความจริงมากขึ้น เกี่ยวกับความคลาดเคลื่อนของการวัด ยอมให้มีความคลาดเคลื่อนจากการวัดนั้นมีความแตกต่างกันออกไปตามสถานการณ์การวัด เพื่อศึกษาความเที่ยงทั่วไป ภายใต้เงื่อนไขของการวัดตามแนวของ Generalizability Theory: G-Theory รวมทั้งศึกษาความคลาดเคลื่อนจากการวัดที่มีความแตกต่างกันไปตามลักษณะของข้อสอบและแบบสอบ ขึ้นกับระดับความสามารถของผู้สอบ และของข้อสอบและแบบสอบ ทั้งยังพยายามวัดคุณลักษณะภายในหรือความสามารถที่แท้จริงของบุคคลตามแนว Item Response Theory (IRT) นอกจากนี้ความคลาดเคลื่อนจากการวัดของบุคคลเองก็ส่งผลต่อการตอบข้อสอบมากกว่า 1 องค์ประกอบ ดังนั้นเพื่อวัดความสามารถของบุคคลจึงมี 2 องค์ประกอบขึ้นไป เพื่อให้ความสามารถหลายมิติของบุคคลสอดคล้องกับข้อมูลได้ดียิ่งขึ้นและส่งผลต่อความน่าจะเป็นของการตอบถูก ตามแนวของ Multidimensional Item Response Theory (MIRT). ทั้งทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิมทฤษฎีการทดสอบแนวใหม่ ต่างก็ต้องการวัดที่เน้นผลผลิต และพฤติกรรมที่เกิดจากการนำความรู้และการนำทักษะไปใช้ในบริบทหรือสถานการณ์ที่เป็นชีวิตประจำวันจริงและด้วยการใช้สถานการณ์ที่เลียนแบบชีวิตจริง
การออกแบบและพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนว Open Learning Environments (OLEs) ที... more การออกแบบและพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนว
Open Learning Environments (OLEs) ที่ส่งเสริมการคิดแก้ปัญหา
เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
DESIGN AND DEVELOPMENT OF OPEN LEARNING ENVIRONMENT (OLEs)
WEB-BASED LEARNING ENVIRONMENT MODEL TO ENHANCE OF PROBLEM SOLVING THINKING OF COMPUTER NETWORK FOR MATTHAYOMSUKSA IV, THE DEMONSTRATION SCHOOL OF KHON KAEN UNIVERSITY
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา... more แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ปีการศึกษา 1/2557
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 ระบบเครือข่าย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาส... more แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 ระบบเครือข่าย
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ปีการศึกษา 1/2557
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 Internet โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์) ป... more แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 Internet
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ปีการศึกษา 1/2557
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 การแก้ปัญหา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์... more แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 การแก้ปัญหา
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ปีการศึกษา 1/2557
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 Microsoft Office Excel 2010 (2) โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธ... more แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 Microsoft Office Excel 2010 (2)
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ปีการศึกษา 1/2557
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 Microsoft Office Excel 2010 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึ... more แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 Microsoft Office Excel 2010
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ปีการศึกษา 1/2557
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 Microsoft Office Word 2010 (2) โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธย... more แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 Microsoft Office Word 2010 (2)
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ปีการศึกษา 1/2557
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 Microsoft Office Word 2010 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึก... more แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 Microsoft Office Word 2010
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ปีการศึกษา 1/2557
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ระบบคอมพิวเตอร์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศา... more แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ระบบคอมพิวเตอร์
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ปีการศึกษา 1/2557
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา... more แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ปีการศึกษา 1/2557
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่องการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยใช้การวัดและการประเมินผลแนวใหม่
การพัฒนาระบบการประมวลผลระดับความสามารถทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนแบบพหุมิติโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน... more การพัฒนาระบบการประมวลผลระดับความสามารถทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนแบบพหุมิติโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรายงานผลการประเมินเพื่อการเรียนรู้
เจนรบ โกรธา. 2562. การพัฒนาระบบการประมวลผลระดับความสามารถทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนแบบพหุมิติโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรายงานผลการประเมินเพื่อการเรียนรู้. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัขอนแก่น.
การวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระ... more การวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สาระที่ 4 เทคโนโลยี)
การสร้างแบบวัดแบบวัดความฉลาดทางอารมณ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มีเครื่องมือที่ใช้ในการ... more การสร้างแบบวัดแบบวัดความฉลาดทางอารมณ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มีเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบวัดแบบวัดความฉลาดทางอารมณ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยแบ่งออกเป็น 5 ด้าน คือ การตระหนักรู้ตนเอง จำนวน 3 ข้อ ด้านความสามารถในการควบคุมตนเอง จำนวน 5 ข้อ ด้านความสามารถสร้างแรงจูงใจตนเองได้ จำนวน 4 ข้อ ด้านการเอาใจเขามาใส่ใจเรา จำนวน 5 ข้อ และด้านการมีทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ จำนวน 8 ข้อ โดยเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ คือ ไม่จริงเลย จริงเล็กน้อย ปานกลาง จริงมาก และจริงที่สุด มีการสร้างและพัฒนาเครื่องมือ
รายงานเรื่อง “การประเมินโครงการ (Project Evaluation)” ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา รายวิชา 217 ... more รายงานเรื่อง “การประเมินโครงการ (Project Evaluation)” ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา รายวิชา 217 703 ระเบียบวิธีวิทยาการประเมินทางการศึกษา สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภาคปลาย ปีการศึกษา 2559 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการประเมินโครงการ ซึ่งมีความเกี่ยวข้องเกือบทุกหน่วยงานและมีความจำเป็นที่ผู้จัดทำจะต้องประเมินว่าการดำเนินโครงการนั้นประสบความสำเร็จหรือไม่ ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาการประเมินโครงการไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใดผู้จัดทำน้อมรับความผิดพลาดทั้งหมดที่เกิดขึ้นและขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย
ประเทศไทยต้องการเน้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ มีความรู้ และมีทักษะที่เกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ จึ... more ประเทศไทยต้องการเน้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ มีความรู้ และมีทักษะที่เกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ จึงมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย รวมทั้งวิธีการวัดและประเมินผลเองก็หลากหลายตามมาด้วยเช่นกัน และจากการศึกษาเกี่ยวกับการทำแบบทดสอบมาตรฐานเพื่อวัดและประเมินผลทักษะการรู้สารสนเทศ พบว่ายังไม่มี การทำแบบทดสอบ หรือแบบประเมินมาตรฐานในประเทศไทย ดังนั้นผู้วิจัยจึงประสงค์จะทำการพัฒนาแบบประเมินมาตรฐาน ทักษะการรู้สารสนเทศ ภาษาไทย โดยยึดตามเกณฑ์มาตรฐานของสมาคม ห้องสมุดวิทยาลัย และวิจัยแห่งสหรัฐอเมริกา (Association of College and Research Libraries- ACRL) โดยยึดหลักมาตรฐานการรู้สารสนเทศสำหรับนักเริยน (Information Literacy Standards for Schools) เนื่องจากมาตรฐานดังกล่าว มีความละเอียดครอบคลุมในหลักการรู้สารสนเทศ และเป็นมาตรฐานกำหนดใช้สำหรับระดับมัธยมศึกษาโดยเฉพาะ
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพกรอบการประเมินการความก้าวหน้าในการเรียนรู้ (Learning Progression) ทักษะการรู้สารสนเทศ (Information literacy Skill) สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาและ เพื่อประเมินการความก้าวหน้าในการเรียนรู้ (Learning Progression) ทักษะการรู้สารสนเทศ (Information literacy Skill) สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา โดยอาศัยแนวความคิดเกี่ยวกับ Four Building Blocks ได้อธิบายถึง Construct Modeling จาก The four Building blocks. โดยเริ่มต้นจากการอธิบายในภาพรวมและแนวคิดหลักก่อน จากนั้นอธิบายความหมายของการวัด ว่าต้องมีการกำหนดประเภทของการสังเกต คุณลักษณะของประชากรเองส่งผลต่อคุณลักษณะของการวัดด้วย การกำหนดคุณลักษณะของกลุ่มประชากรจะต้องสอดคล้องกับความจริงที่ต้องการวัด เพื่อให้ได้กระวนการวัดที่สมบูรณ์ วัถตุประสงค์หลักของการวัด ก็เพื่อ เป็นการอธิบาย เตรียมการอย่างมีเหตุผล
จาการศึกษาพบว่ากรอบการประเมินการความก้าวหน้าในการเรียนรู้ (Learning Progression) ทักษะการรู้สารสนเทศ (Information literacy Skill) สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา พบว่ามีความน่าเชื่อมั่น (EAP/PV RELIABILITY: 0.864) มีความเชื่อมั่นอยู่ระดับ Coefficient Alpha: 0.88 แบบประเมินความก้าวหน้าในการเรียนรู้ (Learning Progression) ทักษะการรู้สารสนเทศ (Information literacy Skill) สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา จำนวนทั้งหมด 9 ข้อ พบว่าข้อสอบมีค่าความยากระดับปานกลางค่อนไปทางง่าย เหมาะสำหรับนักเรียนที่มีความสามารถระดับกลาง ค่า MNSQ อยู่ในช่วงที่ยอมรับได้จำนวนทั้งหมด 9 ข้อ
การจัดการศึกษามีความจำเป็นที่จะต้องกำหนดจุดมุ่งหมายที่มีความชัดเจน เพื่อช่วยในการกำหนดคุณลักษณะท... more การจัดการศึกษามีความจำเป็นที่จะต้องกำหนดจุดมุ่งหมายที่มีความชัดเจน เพื่อช่วยในการกำหนดคุณลักษณะที่ต้องการของผู้เรียน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการวางแผนเพื่อใช้การจัดการเรียนรู้ จุดมุ่งหมายยังมีส่วนช่วยในการกำหนดทิศทางของการศึกษา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้หรือกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม การวัดและการประเมินผลจึงเข้ามามีบทบาทสำคัญในการตัดสินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนว่าสำเร็จตรงตามจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้หรือไม่ รวมทั้งยังช่วยให้สารสนเทศเพื่อช่วยในการปรับปรุงละพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้สอน เมื่อการวัดและการประเมินผลเข้ามามีบทบาทสำคัญ ทำให้ทฤษฏีการทดสอบเข้ามามีบทบาทสำคัญในการวัดและประเมินผล เนื่องจากการการวัดและประเมินผลทางการศึกษานั้นเป็นสิ่งที่อยู่ภายในไม่สามารถวัดออกมาได้โดยตรง เพื่อทำความเข้าใจในสิ่งที่ต้องการวัดตามคุณลักษณะที่มุ่งวัด โครงสร้างของการวัด และการพัฒนาเครื่องมือ จึงจำเป็นต้องอาศัยทฤษฏีการทดสอบทดสอบเข้ามาช่วย โดยทฤษฏีการทดสอบนั้นหากแบ่งประเภทเป็น 2 ประเภทหลักใหญ่ๆ ได้แก่ ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม (Classical Test Theory) และทฤษฎีการทดสอบแนวใหม่ (Modern Test Theory)
ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม (Classical Test Theory) จะเน้นไปทางการตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่สังเกตได้กับคะแนนที่แท้จริง และวิเคราะห์คุณภาพโดยส่วนรวมของข้อสอบและแบบสอบ โดยใช้การวิเคราะห์คุณภาพของข้อสอบและแบบทดสอบ โดยใช้โมเดลคะแนนจริงแบบดั้งเดิม การใช้ทฤษฏีความเที่ยงและความคลาดเคลื่อน การใช้ความตรงเพื่อตรวจสอบความตรงต่างๆ หลักการการสร้างแบบทดสอบ และใช้หลักการวิเคราะห์ข้อสอบ ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิมยังมีข้อด้อยของข้อตกลงเบื้องต้น มีข้อจำกัดของฐานความเชื่อเกี่ยวกับคะแนนความคลาดเคลื่อนและค่าพารามิเตอร์ของข้อสอบและแบบทดสอบ จึงส่งผลให้มีนักทฤษฏีการทดสอบหลายท่านได้ก่อการปฏิรูปแนวคิดเกิดขึ้น สู่ทฤษฎีการทดสอบแนวใหม่ (Modern Test Theory) เพื่อคลายข้อตกลงเบื้องต้น และแก้ไขจุดอ่อนบางประการ
ทฤษฎีการทดสอบแนวใหม่ (Modern Test Theory) จะมุ่งเน้นการขยายแนวคิดของทฤษฏีการทดสอบแบบดั้งเดิมให้มีขอบเขตที่กว้างขวาง และมีความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น โดยปรับข้อตกลงให้มีความสมเหตุสมผล ตามความจริงมากขึ้น เกี่ยวกับความคลาดเคลื่อนของการวัด ยอมให้มีความคลาดเคลื่อนจากการวัดนั้นมีความแตกต่างกันออกไปตามสถานการณ์การวัด เพื่อศึกษาความเที่ยงทั่วไป ภายใต้เงื่อนไขของการวัดตามแนวของ Generalizability Theory: G-Theory รวมทั้งศึกษาความคลาดเคลื่อนจากการวัดที่มีความแตกต่างกันไปตามลักษณะของข้อสอบและแบบสอบ ขึ้นกับระดับความสามารถของผู้สอบ และของข้อสอบและแบบสอบ ทั้งยังพยายามวัดคุณลักษณะภายในหรือความสามารถที่แท้จริงของบุคคลตามแนว Item Response Theory (IRT) นอกจากนี้ความคลาดเคลื่อนจากการวัดของบุคคลเองก็ส่งผลต่อการตอบข้อสอบมากกว่า 1 องค์ประกอบ ดังนั้นเพื่อวัดความสามารถของบุคคลจึงมี 2 องค์ประกอบขึ้นไป เพื่อให้ความสามารถหลายมิติของบุคคลสอดคล้องกับข้อมูลได้ดียิ่งขึ้นและส่งผลต่อความน่าจะเป็นของการตอบถูก ตามแนวของ Multidimensional Item Response Theory (MIRT). ทั้งทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิมทฤษฎีการทดสอบแนวใหม่ ต่างก็ต้องการวัดที่เน้นผลผลิต และพฤติกรรมที่เกิดจากการนำความรู้และการนำทักษะไปใช้ในบริบทหรือสถานการณ์ที่เป็นชีวิตประจำวันจริงและด้วยการใช้สถานการณ์ที่เลียนแบบชีวิตจริง
การออกแบบและพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนว Open Learning Environments (OLEs) ที... more การออกแบบและพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนว
Open Learning Environments (OLEs) ที่ส่งเสริมการคิดแก้ปัญหา
เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
DESIGN AND DEVELOPMENT OF OPEN LEARNING ENVIRONMENT (OLEs)
WEB-BASED LEARNING ENVIRONMENT MODEL TO ENHANCE OF PROBLEM SOLVING THINKING OF COMPUTER NETWORK FOR MATTHAYOMSUKSA IV, THE DEMONSTRATION SCHOOL OF KHON KAEN UNIVERSITY
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา... more แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ปีการศึกษา 1/2557
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 ระบบเครือข่าย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาส... more แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 ระบบเครือข่าย
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ปีการศึกษา 1/2557
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 Internet โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์) ป... more แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 Internet
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ปีการศึกษา 1/2557
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 การแก้ปัญหา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์... more แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 การแก้ปัญหา
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ปีการศึกษา 1/2557
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 Microsoft Office Excel 2010 (2) โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธ... more แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 Microsoft Office Excel 2010 (2)
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ปีการศึกษา 1/2557
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 Microsoft Office Excel 2010 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึ... more แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 Microsoft Office Excel 2010
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ปีการศึกษา 1/2557
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 Microsoft Office Word 2010 (2) โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธย... more แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 Microsoft Office Word 2010 (2)
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ปีการศึกษา 1/2557
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 Microsoft Office Word 2010 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึก... more แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 Microsoft Office Word 2010
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ปีการศึกษา 1/2557
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ระบบคอมพิวเตอร์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศา... more แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ระบบคอมพิวเตอร์
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ปีการศึกษา 1/2557
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา... more แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ปีการศึกษา 1/2557
การทดสอบแบบปรับเหมาะด้วยคอมพิวเตอร์แบบพหุมิติ (Multidimensional Computerized Adaptive Testing : M... more การทดสอบแบบปรับเหมาะด้วยคอมพิวเตอร์แบบพหุมิติ (Multidimensional Computerized Adaptive Testing : MCAT) เป็นการผสมผสานแนวคิดระหว่างทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบแบบพหุมิติ(Multidimensional Item Response Theory : MIRT) กับการทดสอบแบบปรับเหมาะด้วยคอมพิวเตอร์ (Computerized Adaptive Testing : CAT) ซึ่งเป็นการทดสอบที่มีประสิทธิภาพสูง มีความแม่นยำ และลดจำนวนข้อสอบ
-เปรียบเทียบความตรงตามสภาพในการประมาณค่าความสามารถของผู้สอบจากการทดสอบแบบปรับเหมาะโดยใช้คอมพิวเตอ... more -เปรียบเทียบความตรงตามสภาพในการประมาณค่าความสามารถของผู้สอบจากการทดสอบแบบปรับเหมาะโดยใช้คอมพิวเตอร์ เมื่อใช้เกณฑ์การคัดเลือกข้อสอบขั้นแรก อัตราการใช้ข้อสอบซ้ำ และเกณฑ์ยุติการทดสอบที่ต่างกัน
-เปรียบเทียบประสิทธิภาพของวิธีวิเคราะห์ข้อสอบด้วยวิธีการสรุปอ้างอิงความน่าเชื่อถือของโมเดลการตอบสนองข้อสอบ (GIRM) 4 รูปแบบ ระหว่างรูปแบบ Original GIRM, รูปแบบ Alternative GIRM A, รูปแบบ Alternative GIRM B และรูปแบบ Numerical Bayesian GIRM
โมเดลหรือทฤษฎีการทดสอบในปัจจุบันสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักๆ ได้แก่ ประเภทแรกคือ ทฤษฎีการทดสอบ... more โมเดลหรือทฤษฎีการทดสอบในปัจจุบันสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักๆ ได้แก่ ประเภทแรกคือ ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม (Classical Test Theory: CTT) ส่วนทฤษฎีประเภทที่สองของทฤษฎีการทดสอบในปัจจุบัน ได้แก่ ทฤษฎีการทดสอบแนวใหม่ (Modern Test Theory)
ทฤษฎีการทดสอบในปัจจุบันสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักๆ คือ ประเภทแรก ได้แก่ ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเ... more ทฤษฎีการทดสอบในปัจจุบันสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักๆ คือ ประเภทแรก ได้แก่ ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม (Classical Test Theory: CTT) มีแนวคิดว่าคะแนนสอบที่สังเกตได้ (X) นั้นเป็นผลรวมมาจากโมเดลเชิงเส้นของผลรวมคะแนนจริง (T) และความคลาดเคลื่อน (e) โดความคลาดเคลื่อนนั้นมีลักษณะเป็นหนึ่งเดียวที่ไม่สามารถแบ่งแยกได้ (unique error) ส่วนทฤษฎีประเภทที่สองของทฤษฎีการทดสอบในปัจจุบัน ได้แก่ ทฤษฎีการทดสอบแนวใหม่ (Modern Test Theory) ปัจจุบันที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมีอยู่ด้วยกัน 2 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีการสรุปอ้างอิงความน่าเชื่อถือของผลการวัด (Generalizability Theory: GT) และทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบ (Item Response Theory: IRT)
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่องการสร้างและการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดและประเมินผลเพื่อสารสนเทศส... more เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่องการสร้างและการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดและประเมินผลเพื่อสารสนเทศสำหรับการพัฒนาการเรียนรู้และสมรรถนะของผู้เรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ ว23103 การออกแบบและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้... more แผนการจัดการเรียนรู้ ว23103 การออกแบบและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรู้ ว22103 การออกแบบและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้... more แผนการจัดการเรียนรู้ ว22103 การออกแบบและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ ว21103 การออกแบบและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้... more แผนการจัดการเรียนรู้ ว21103 การออกแบบและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เอกสารฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาสัมมนาการวัดผลการศึกษา (Seminar in Educational Measurement) 2... more เอกสารฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาสัมมนาการวัดผลการศึกษา (Seminar in Educational Measurement) 217891_3(3-0-6) ปีการศึกษา 2559 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
รายงานผลฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 217 730 การสร้างเครื่องมือในการวัดผล ระดับปริญญาโท สาขาวิ... more รายงานผลฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 217 730 การสร้างเครื่องมือในการวัดผล ระดับปริญญาโท สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
การวิจัยคร้ังนี้เป็นการศึกษานำร่องในโครงการพัฒนาระบบการประเมินระดับความสามารถทางคณิตศาสตร์ของผู้เ... more การวิจัยคร้ังนี้เป็นการศึกษานำร่องในโครงการพัฒนาระบบการประเมินระดับความสามารถทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนแบบพหุมิติ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรายงานผลการประเมินเพื่อการเรียนรู้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการประเมินและการรายงานผลระดับความสามารถทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน แบบพหุมิติโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา อาศัยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ในเขตพื้นที่การศึกษา นักวิชาการที่เกี่ยวข้องในสำนักทดสอบทางการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการและสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ซึ่งเลือกแบบ เจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด เพื่อร่วมกันออกแบบวิธีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการประเมิน และการรายงานผลการประเมินเพื่อการเรียนรู้ จากการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่ม รวมถึง การสังเคราะห์เอกสาร เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบการประเมิน ผลการวิจัยพบว่า (1) วิธีการประเมิน ระดับความสามารถทางคณิตศาสตร์ ควรมุ่งเน้นการให้ข้อมูลย้อนกลับต่อผู้เรียนใน 3 ลักษณะ คือ การให้ ข้อมูลกระตุ้นการเรียนรู้ การให้ข้อมูลย้อนกลับ และการให้ข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ต่อยอด โดยสะท้อนให้เห็น ความสามารถทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนทั้งมิติของกระบวนแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และมิติของกลยุทธ์ ในการแก้ปัญหา ภายใต้โมเดลเชิงโครงสร้างเป็นฐานในการพัฒนา 4 ขั้นตอน คือ (I) การพัฒนาแผนที่ โครงสร้างของระดับผลลัพธ์การเรียนรู้ (II) การพัฒนาคำถามตามแผนท่ีโครงสร้างของระดับผลลัพธ์การเรียนรู้ (III) การให้คะแนนของผลลัพธ์การเรียนรู้ และ (IV) การวิเคราะห์โมเดลเชิงโครงสร้างและการแปลผล โดยใช้โมเดลการตอบสนองข้อสอบแบบพหุมิติ ในการตรวจสอบคุณภาพของกรอบการประเมินและประมาณ ค่าระดับความสามารถของผู้เรียน และ (2) การรายงานผล ควรมีองค์ประกอบของระบบประเมินระดับ ความสามารถทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนแบบพหุมิติ 5 ส่วน คือ (I) ระบบการลงทะเบียน (II) ข้อมูลนำเข้า (III) ระบบประมวลผล (IV) ระบบรายงานผลการทดสอบและคู่มือการใช้ และ (V) การตรวจสอบคุณภาพของ วิธีการประเมินและการรายงานผล ผลที่ได้จากการศึกษาคร้ังนี้นำไปสู่การพัฒนาระบบการประเมินระดับ ความสามารถทางคณิตศาสตร์ที่เป็นประโยชน์ต่อครู ศึกษานิเทศก์ และเขตพื้นที่การศึกษาให้เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย เพื่อนำไปใช้พัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลและการเตรียมพร้อมให้ผู้เรียนพัฒนาในระดับท่ีสูงข้ึน
หนังสือคู่มือการเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Applications) ประกอบด้วย 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการ... more หนังสือคู่มือการเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Applications) ประกอบด้วย
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมบนเว็บ
2. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
3. คำสั่ง และเงื่อนไข
4. ฟังก์ชัน PHP และการจัดการไฟล์
5. Regular Expression และการจัดการภาพกราฟิก
6. การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุและการสร้างช่องรับข้อมูล
7. การเขียน ER – diagram และการสร้างฟอร์มรับข้อมูล
8. การจัดการฐานข้อมูล MySQL ด้วย PhpMyAdmin
หนังสือคู่มือการใช้งานโปรแกรม Adobe Photoshop CS6 เบื้องต้น
หนังสือคู่มือการใช้งานโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS6 ประกอบด้วย - รู้จักกับโปรแกรม Adobe Premiere... more หนังสือคู่มือการใช้งานโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS6 ประกอบด้วย
- รู้จักกับโปรแกรม Adobe Premiere Pro
- การทำงานเบื้องต้นกับ Adobe Premiere Pro
- เริ่มต้นงานตัดต่อวีดีโอใน Adobe Premiere Pro
- การเพิ่มไฟล์เสียงและปรับตั้งค่าของเสียง
- การสร้างคลิปพิเศษอื่นๆ
- การสร้างข้อความแสดงบนคลิป
- การบันทึกไฟล์งานเพื่อนำไปใช้
หนังสือคู่มือการใช้งานโปรแกรม Adobe Illustrator CS6 หนังสือมีด้วยกันทั้งหมด 9 หน่วยการเรียน ประกอ... more หนังสือคู่มือการใช้งานโปรแกรม Adobe Illustrator CS6 หนังสือมีด้วยกันทั้งหมด 9 หน่วยการเรียน ประกอบด้วย
1.) รู้จักกับโปรแกรม Adobe Illustrator
2.) ส่วนประกอบโปรแกรม Adobe Illustrator
3.) เริ่มต้นใช้โปรแกรม Adobe Illustrator
4.) วาดเส้นด้วย Line Tool
5.) การสร้างสี่เหลี่ยมด้วย Rectangle Tool
6.) สี (COLOR)
7.) การสร้างตัวหนังสือด้วยกลุ่มเครื่องมือ Type Tool
8.) กลุ่มเครื่องมือ Fill & Stroke และ
9.) Layer
หนังสือคู่มือการใช้งานโปรแกรม Adobe Dreamweaver มีทั้งหมด 9 หน่วยการเรียน ประกอบด้วย 1.) ความรู้เ... more หนังสือคู่มือการใช้งานโปรแกรม Adobe Dreamweaver มีทั้งหมด 9 หน่วยการเรียน ประกอบด้วย
1.) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
2.) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ Adobe Dreamweaver CS6
3.) การสร้างเว็บไซต์
4.) การใช้คำสั่งแทรก (Insert) ใน Adobe Dreamweaver CS6
5.) การเชื่อมโยงใน Adobe Dreamweaver CS6
6.) การออกแบบเว็บเพจด้วยเฟรม (Frame)
7.) การใช้มัลติมีเดียบนเว็บเพจ
8.) การใช้งาน Cascading Style Sheet: CSS และ
9.) การอัพโหลดไฟล์สู่เว็บไซต์
พร้อมทั้งแบบทดสอบหลังเรียน
หนังสือมีด้วยกันทั้งหมด 11 หน่วยการเรียน ประกอบด้วย 1.) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2.) ... more หนังสือมีด้วยกันทั้งหมด 11 หน่วยการเรียน ประกอบด้วย
1.) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
2.) ระบบคอมพิวเตอร์
3.) อินเทอร์เน็ต (Internet)
4.) หลักการแก้ปัญหา
5.) การบำรุงดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
6.) ไวรัสคอมพิวเตอร์
7.) คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยี
8.) ระบบเครือข่าย
9.) การประยุกต์ใช้โปรแกรม Microsoft Office Word
10.) การประยุกต์ใช้โปรแกรม Microsoft Office PowerPoint และ
11.) การประยุกต์ใช้โปรแกรม Microsoft Office Excel
พร้อมทั้งแบบทดสอบหลังเรียน