Chotima Chaturawong | Silpakorn University (original) (raw)
Papers by Chotima Chaturawong
Decoding Southeast Asian Art: Studies in Honor of Piriya Krairiksh. Bangkok: River Books, pp. 194-211. , 2022
The Ānanda of Bagan (Pagan) in central upper Myanmar is a masterpiece of King Kyanzittha and Baga... more The Ānanda of Bagan (Pagan) in central upper Myanmar is a masterpiece of King Kyanzittha and Bagan architecture. It is a four-faced (caturmukha) temple, being a square building having four projecting porches or halls at the cardinal directions. It belongs to the Buddhist tradition of the eleventh to twelfth centuries CE. This essay examines the religious and ritual symbols of the Ānanda temple. The temple houses statues of the four buddhas of the past, including the historical Gotama Buddha and his three predecessors; their arrangement in the four cardinal directions were probably inspired by earlier Buddhist temples in East Bengal. Although the Ānanda has four entrances at the cardinal points, those to the north and the west have been the principal accesses which also are associated with two possible ways to worship the four buddhas. The Ānanda is not only a shrine of the four buddhas but also a temple, a stupa, and symbol of the Bodhi tree under which Gotama Buddha attained Enlightenment.
วิหารถํ้าอนันทะหรืออนันทพญาของพุกามในภาคกลางตอนบนของเมียนมาเป็นโครงสร้างแบบสี่หน้าหรือจัตุรมุขซึ่งหมายถึงอาคารรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีมุขหรือโถงยื่นออกไปในทิศทั้งสี่ วิหารถํ้าอนันทะเป็นอาคารทางพระพุทธศาสนาอายุระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 11 ถึง 12 บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาสัญลักษณ์ทางศาสนาและพิธีกรรมของวิหารถํ้าอนันทะ วิหารถํ้าประดิษฐานพระพุทธรูปของพระพุทธเจ้าสี่พระองค์ที่ประกอบด้วยพระโคตมพุทธเจ้า และอดีตพระพุทธเจ้าสามพระองค์ ซึ่งตำแหน่งทิศการวางของพระพุทธรูปคงได้แรงบันดาลใจจากตำแหน่งของพระพุทธรูปในเจติยสถานทางพระพุทธศาสนาในเบงกอลตะวันออก แม้ว่าวิหารถํ้าอนันทะจะมีทางเข้าทั้งสี่ทิศ แต่ทางเข้าทิศเหนือและตะวันตกเป็นทางเข้าหลัก ซึ่งยังไปสัมพันธ์กับวิถีการบูชาพระพุทธเจ้าสี่พระองค์ที่สามารถกระทำได้สองแบบ วิหารถํ้าอนันทะมิใช่เพียงเป็นเจติยสถานสำหรับพระพุทธเจ้าสี่พระองค์เท่านั้น อนันทพญายังเป็นเจติยสถาน พระสถูป และสัญลักษณ์ต้นโพธิ์ของพระโคตมพุทธเจ้า
IIAS Newsletter, No. 93 Autumn 2022, pp. 30-31, https://www.iias.asia/sites/iias/files/theNewsletter/2022-10/IIAS\_NL93\_FULL.pdf., 2022
Journal of Bengal Art, 25: 37-52., 2020
Vishnu Anantasayin refers to a reclining Vishnu representing the creation of the universe. Relief... more Vishnu Anantasayin refers to a reclining Vishnu representing the creation of the universe. Reliefs of Vishnu Anantasayin have been found in Sri Ksetra of the Pyu, Thaton and Hpa-an of the Mon, and Pagan of the Burmese. They correspond in a cross-legged reclining Vishnu with the head to the left and lotus seats for the Hindu Trinity emerging from the reclining Vishnu’s navel, with Vishnu as the supreme one. Sculptures of reclining Vishnu have been found in India since the 4th century C.E. They were popular in south India as the principal image of Vishnu temples. Reliefs of Vishnu Anantasayin in Myanmar reflected Vaishnavism (Vishnuism) and accompanied Buddhism for the purpose of the royal cult in which Buddhist kings in Myanmar often claimed to be an incarnation of Vishnu.
Journal of Bengal Art, 16: 189-227., 2011
The art and architecture of Pagan (11th to 13th centuries C.E.) shared similarities and were infl... more The art and architecture of Pagan (11th to 13th centuries C.E.) shared similarities and were influenced by those of Eastern India during Pala-Sena period (8th to 12th centuries C.E.); for instance, a sikhara tower, a Buddha image in bhumisparsa mudra, the diamond throne, and the Eight Scenes. Early Pagan temples inspired by the Mon have similar plans and sikhara towers to those of the Buddhists and Hindus in Bengal. Sikharas of the Burmese and Bengali were also adorned with arches or windows. Buddhist temples in Eastern India and Pagan represent gandhakuti, the special chamber of the Buddha in Jetavana Monastery, India. The Mahabodhi temple in Bodhgaya was also referred to as Vajrasana Gandhakuti, since it enshrines the Buddha image in bhumisparsa mudra seated upon the vajrasana throne. A Buddha image in bhumisparsa mudra symbolizes enlightenment and the victory of the Buddha over Mara's assault. The bhumisparsa mudra was a popular posture in Eastern India and Pagan since it signified not only the Buddha's enlightenment but also was associated with the Mahabodhi temple and Bodhgaya, an important Buddhist pilgrimage site and Pala art center. The Buddha in bhumisparsa mudra was placed at the center of the Eight Scenes, the Eight Great Places of Buddhist pilgrimage, which were widely depicted on stone and terracotta plaques in Eastern India and Pagan. Four sites related to four important events in the life of the Buddha in Lumbini, Bodhgaya, Sarnath and Kusinara. Four other sites were associated with the Buddha's miracles in Sravasti, Rajgir, Sankasia and Vaishali. These sites were prominent in the politics and economy of northern India.
Connectivity and Beyond: Indo-Thai Relations Through Ages. Edited by Lipi Ghosh. Kolkata: Asiatic Society: 55-77 and 247-270., 2009
Indo-Thai culture interacts at several points of time through different ages. The Buddha image is... more Indo-Thai culture interacts at several points of time through different ages. The Buddha image is one of the ·best instances to prove this. Buddha images seated in pralambapadasana position were found in several sites of Dvaravati, Thailand, for instance the quartzite Buddha statues at Wat Pra Men, Nakhon Pathom; the bas-relief of the Buddha image on the Hermit's Cave, Khao Ngu Mountain, Ratchaburi; the bas-relief of the Buddha image on the stone depicting the Buddha jataka tale, Nakhon Pathom; and the Buddha images adorned at the Chula Paton Stupa, Nakhon Pathom. These images are seated with the feet hanging down in the western manner. They were likely imitated those of Gupta and post-Gupta art of India, such as Buddha images at Buddhist cave temples of Ajanta and Ellora. However, these Buddha images of Dvaravati mostly appear in teaching gesture (vitarka mudra) while those of India are often depicted in gesture of Turning the Wheel of the Law (dharmacakra mudra).
This paper intends to make comparison between Buddha images seated in pralambapadasana position of Dvaravati, Thailand and those of India during Kusana, Amaravati, and Gupta periods. Buddha images in pralambapadasana of India represented Dharmaraja, Bodhisattva, Cakravartin, and Maitreya. They were influenced by Mahayana Buddhism. Whereas the Buddha in pralambapadasana of Dvaravati were associated with dharmaraja, teaching of the Buddha, and important events when the Buddha spread the doctrine.
Proceeding of the Hompoom- Sathapattayapatha’ 04 Conference: Architectural Way, Communal Way, and Folkway. Chiang Mai: Faculty of Architecture, Chiang Mai University, 2004: 9-1 - 9-20, 2004
วิถีสถาปัตย์ของการจัดผังเวียงเชียงใหม่มีลักษณะคล้ายการจัดผังเมืองมัณฑเลย์ในพม่าตอนบนหลายประการเช่... more วิถีสถาปัตย์ของการจัดผังเวียงเชียงใหม่มีลักษณะคล้ายการจัดผังเมืองมัณฑเลย์ในพม่าตอนบนหลายประการเช่น ทั้งเวียงเชียงใหม่และมัณฑเลย์มีผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีคูน้ำล้อมรอบกำแพงเมืองชั้นใน กำแพงเมืองชั้นนอกก่อด้วยดิน และทั้งเวียงเชียงใหม่และมัณฑเลย์ตั้งอยู่ใกล้ภูเขาและแม่น้ำ ขณะเดียวกันการจัดผังของเวียงทั้งสองก็มีรายละเอียดที่แตกต่างกัน กล่าวคือ ดอยสุเทพตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเวียงเชียงใหม่ ขณะที่เนินเขามัณฑเลย์ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของมัณฑเลย์ แม่น้ำแม่ปิงอยู่ทางทิศตะวันออกของเวียงเชียงใหม่ ส่วนแม่น้ำอิรวดีอยู่ทางทิศตะวันตกหรือด้านหลังของมัณฑเลย์ นอกจากนั้นเวียงเชียงใหม่ประกอบด้วยวัดจำนวนกว่าเก้าสิบวัดภายในกำแพงเมืองชั้นใน ส่วนมัณฑเลย์แยกวัดทางพระพุทธศาสนาออกจากเมืองชั้นใน โดยวัดที่สร้างโดยพระบรมวงศานุวงศ์กว่ายี่สิบวัดตั้งเรียงรายอยู่ทางด้านทิศตะวันออกของเมืองชั้นนอกมัณฑเลย์
บทความนี้ตั้งใจที่จะศึกษาเปรียบเทียบลักษณะผังของเวียงเชียงใหม่และมัณฑเลย์ในพม่าตอนบนที่สร้างภายหลังเชียงใหม่กว่าห้าร้อยปี ลักษณะการจัดผังของเวียงทั้งสองสัมพันธ์กับความเชื่อเรื่องทิศ เชียงใหม่ให้ความสำคัญกับทิศเหนือเสมือนส่วนหัวของเมือง ขณะที่มัณฑเลย์ให้ความสำคัญกับทิศตะวันออก ความเชื่อเรื่องทิศมีผลต่อการใช้พื้นที่ในเวียงเชียงใหม่และมัณฑเลย์มิวที่สามารถเทียบความสำคัญได้กับอวัยวะของร่างกายมนุษย์ นอกจากการวางผังของมัณฑเลย์จะสัมพันธ์กับไทยวนเชียงใหม่แล้วยังอาจได้รับอิทธิพลจากอินเดีย การศึกษาเปรียบเทียบผังของเวียงเชียงใหม่และมัณฑเลย์นำไปสู่ความเข้าใจในวิถีชีวิต และวิถีชุมชนของคนไทยวนในล้านนาและคนพม่าในพม่าตอนบน
Chiang Mai and Mandalay share similarities in city layout and geography. The cities were established in a shape of a square and located near mountains and rivers. Chiang Mai and Mandalay were divided into two parts, inner and outer areas. Inner area was surrounded with brick walls and moats and outer area was enclosed with earthen walls. However, Chiang Mai and Mandalay differed in locations of mountains, rivers, and Buddhist temples. Suthep Mountain and Ping River are to the northwest and to the east of Chiang Mai. Whereas the Mandalay Hill and the Irawaddy River are to the northeast and to the west of Mandalay. Buddhist temples were scattered in both the inner and outer areas of Chiang Mai. Whereas Burmese Buddhist temples were founded only in the outer area of Mandalay.
The paper aims to discuss the similarities and differences of Chiang Mai and Mandalay, the capital of Lanna and Upper Burma. Area uses of Chiang Mai and Mandalay divided according to the cardinal points associated with beliefs of directions; and their importance corresponded to four parts of human body. For example, the head which is considered the
most important corresponded to the northern part of Chiang Mai and the eastern part of Mandalay. Besides sharing similarities with Chiang Mai, the layout of Mandalay also contained influence of Mandala from India. The similarities and differences of Chiang Mai and Mandalay reflect cross-cultural exchanges between Tai Yuan in Lanna and Burmese in Upper Burma and lead to better understand their ways of living.
หน้าจั่ว: ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมไทย, 5 (กันยายน, 2550): 38-65. [Najua Journal: History of Architecture and Thai Architecture, 5], 2007
การค้าไม้สักทางภาคเหนือของสยามเริ่มในราวปี พ.ศ. ๒๒๘ เนื่องจากไม้สักมีจำนวนมากในภาคเหนือของสยาม มี... more การค้าไม้สักทางภาคเหนือของสยามเริ่มในราวปี พ.ศ. ๒๒๘ เนื่องจากไม้สักมีจำนวนมากในภาคเหนือของสยาม มีเส้นทางทางบกจากตะนาวศรีของพม่าถึงภาคเหนือจึงทำให้พ่อค้าจากพม่าตอนล่างสามารถเดินทางเข้าสู่ภาคเหนือของสยามได้ และไม้สักทางภาคเหนือของสยามที่อยู่ทางด้านตะวันตกของภาคสามารถตัดและล่องลงสู่แม่น้ำสาละวินออกสู่เมืองเมาะละแหม่งในพม่าตอนล่างศูนย์การค้าไม้สักและท่าเรือของอังกฤษได้ การค้าไม้สักในภาคเหนือของสยามเจริญรุ่งเรืองภายหลังจากที่อังกฤษสามารถมีอำนาจเหนือดินแดนพะโคในพม่าในปีพ.ศ.๒๓๙๕ และภายหลังจากการลงนามในสนธิสัญญาเบาว์ริ่งระหว่างอังกฤษและสยาม การค้าไม้สักในสยามสัมพันธ์กับชุมชนคนในบังคับอังกฤษ และว่าที่วัดพม่าที่อุปถัมภ์โดยพ่อค้าไม้สักชาวพม่า มอญ ไทใหญ่ และปะโอหรือตองสู้ ทางภาคเหนือของสยาม คนสยามและคนทางภาคเหนือมักจะเรียกวัดเหล่านี้ว่าวัดพม่า ซึ่งในความเป็นจริงแล้ววัดเหล่านี้ส่วนใหญ่แล้วสร้างโดยคนที่ไม่ใช่เชื้อสายพม่าและลักษณะสถาปัตยกรรมก็แตกต่างจากวัดพม่าในพม่าตอนบน ลักษณะสถาปัตยกรรมวัดอุปคุตว่าที่วัดพม่าในจังหวัดเชียงใหม่ ตลอดจนประวัติของผู้สร้างวิหารที่เป็นที่อยู่ของพระสงฆ์ภายในวัดสะท้อนให้เห็นถึงสภาพการเมืองและเศษฐกิจของเชียงใหม่และภาคเหนือของสยามในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ และต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๒๐ อันเป็นช่วงเวลาการปฏิรูปการปกครองของสยาม ผู้สร้างวิหารวัดอุปคุตยังซ่อมเจดีย์ที่วัดเจดีย์เหลี่ยมที่สร้างเลียนแบบเจดีย์วัดกู่กุดในสมัยหริภุญชัย ทั้งเจดีย์วัดเจดีย์เหลี่ยมและวัดอุปคุตยังสัมพันธ์กับอายุและเรือนของผู้สร้างตามประเพณีอย่างมอญ พม่าและล้านนา ขณะที่ว่าที่วัดพม่าในลำปางสะท้อนความสัมพันธ์ระหว่างพม่าตอนล่างและภาคเหนือของสยาม เนื่องจากลักษณะของรูปทรงหลังคาและช่องลมแบบลายน้ำไหลที่พบในว่าที่วัดพม่าและเรือนของคหบดีในจังหวัดลำปางมีความคล้ายคลึงกันกับรูปทรงหลังคาและช่องลมที่พบที่เมือง
เมาะละแหม่งในพม่าตอนล่าง
หน้าจั่ว: ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมไทย, 1 (มกราคม, 2547): 14-41. [Najua Journal: History of Architecture and Thai Architecture, 1], 2004
เจาง์ สถาปัตยกรรมทางพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทของพม่า มีลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างจากอาคารทางพระพุทธศา... more เจาง์ สถาปัตยกรรมทางพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทของพม่า มีลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างจากอาคารทางพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทในประเทศอื่น เช่น ศรีลังกา, ลาว, เขมร, และไทย เนื่องจากเจาง์ของพม่าเป็นอาคารอเนกประสงค์ที่รวมพื้นที่ของกุฏิ วิหาร และศาลาการเปรียญ ตามความหมายอย่างไทยไว้ด้วยกัน เจาง์ของพม่าประกอบด้วยที่อยู่ของภิกษุสงฆ์และสามเณร ที่ประดิษฐานพระพุทธรูปที่สำหรับพุทธศาสนิกชนทำบุญและฟังธรรมเทศนาและที่เก็บของ เจาง์ส่วนใหญ่สร้างด้วยไม้แบบเรือนยกเสาสูงและมีแนวแกนหลักในทิศตะวันออก-ตะวันตก
บทความนี้เลือกที่จะศึกษาสถาปัตยกรรมประเภทเจาง์ของพม่า เนื่องจากเจาง์ของพม่ายังไม่มีการศึกษาอย่างแพร่หลาย และเจาง์ยังสะท้อนลักษณะทางวัฒนธรรมและสังคมของพม่าบางประการที่แตกต่างจากของประเทศอื่นที่นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทเหมือนกัน การศึกษาเนันเจาง์ที่สร้างโดยพระมหากษัตริย์ในเมืองมัณฑเลย์ สมัยพระเจ้ามินดง (พ.ศ.๒๓๙๖-๒๔๒๑) และสมัยพระเจ้าธีบอ (พ.ศ. ๒๔๒๑-๒๔๒๘) หรือสมัยตอนปลายของราชวงศ์คองบอง ก่อนที่ประเทศพม่าทั้งหมดจะตกเป็นเมืองขึ้นของประเทศอังกฤษในปี พ.ศ. ๒๔๒๘ เนื่องจากเจาง์ที่สร้างโดยพระมหากษัตริย์เปิดกว้างต่อการตีความและเกี่ยวข้องกับการเมืองในสมัยพระเจ้ามินดง ประกอบกับสถาปัตยกรรมไม้ที่หลงเหลือในประเทศพม่าปัจจุบัน ส่วนใหญ่สร้างในสมัยพระเจ้ามินดงและพระเจ้าธีบอ บทความนี้พยายามใช้สถาปัตยกรรมประเภทเจาง์ของพม่าเพื่ออธิบายลักษณะทางสังคม วัฒนธรรม และการเมืองของพม่าในสมัยพระเจ้ามินดงและพระเจ้าธีบอ การศึกษาเจาง์ของพม่าจึงใช้วิธีการมองผ่านต้นไม้ เนื่องจากต้นไม้เกี่ยวข้องกับความเชื่อเดิมของพม่าและความเชื่อทางพระพุทธศาสนาที่ว่าต้นไม้เป็นที่อยู่ของวิญญานหรือนัต หรือเทพารักษ์รักษาต้นไม้ ไม้สักเป็นวัสดุขั้นดีในการสร้างสถาปัตยกรรมเจาง์และยังเป็นวัสดุชั้นเลิศในการต่อเรือเดินทะเล การค้าไม้สักเกี่ยวข้องกับการเมืองของพระเจ้ามินดงและอังกฤษ การศึกษาสถาปัตยกรรมเจาง์ของพม่โดยการมองผ่านชีวประวัติของไม้สักในช่วงที่ไม้สักถูกมองเป็นสินค้า นำพาให้สถาปัตยกรรมประเภทเจาง์ที่สร้างด้วยไม้สักเกี่ยวข้องกับความเชื่อ การเมือง และเศรษฐกิจในสมัยพระเจ้ามินดงและพระเจ้าธีบอ นอกจากนั้นข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และคติความเชื่อเรื่องพระมหากษัตริย์ในทางพระพุทธศาสนา ยังช่วยในการวิเคราะห์สถาปัตยกรรมประเภทเจาง์ของพม่าอีกด้วย
India-Thailand Cultural Interactions: Glimpses from the Past to Present, Edited by Dr. Lipi Ghosh. Delhi: Springer Singapore: 53-85., 2017
Mandapa, a Sanskrit term, means a pillared outdoor hall or a pavilion for public rituals in India... more Mandapa, a Sanskrit term, means a pillared outdoor hall or a pavilion for public rituals in Indian architecture. The architecture of mandapa in Southeast Asia also shares similarities to that in India, for instance mandapas in Cambodia and Vietnam. These had a rectangular floor plan, were the site of ritual ceremonies, and were located to the front of an image shrine called garbha griha or garbha grha. However, in Sukhothai a mandapa referred to a small building enshrining a Buddha image or sometimes multiple images. Its role was parallel to an image shrine (garbha griha) of Hindu and Buddhist architecture in India and Sri Lanka. A Sukhothai mandapa or mondop was often located to the back of a vihara which corresponded to a mandapa in India where ceremonies were held. This paper aims to understand the term mandapa and compares the architecture of mandapas in India, Sri Lanka, Myanmar, and Sukhothai, Thailand. Sukhothai mondops represented a pavilion where the Buddha resided, and its function was equivalent to a gandakuti, a perfumed chamber, or a karerikuti where the Buddha dwelled in Jetavana monastery, India. The vihara to its front corresponded to a reception area. Mondop and its attached vihara of Sukhothai were also like a dhammasala or dhammamandapa in Pagan, Myanmar. The comparison of mandapas in India, Sri Lanka, Myanmar, and Thailand will provide indigenous architectural characteristics as well as links to the history, culture, and religion of the people.
Najua Journal: History of Architecture and Thai Architecture, 2012
ปานปุรูปซงเจาง์ เมืองสะเลเป็นสังฆิกวิหารไม้ที่ประดับด้วยภาพจำหลักรูปบุคคลอันเป็นสังฆิกวิหารที่มีช... more ปานปุรูปซงเจาง์ เมืองสะเลเป็นสังฆิกวิหารไม้ที่ประดับด้วยภาพจำหลักรูปบุคคลอันเป็นสังฆิกวิหารที่มีชื่อเสียงของพม่า สะเลปานปุรูปซงเจาง์สร้างโดยพ่อค้าเนื้อวัว เพื่อถวายเป็นที่จำพรรษาแก่พระอูกุณะ ไกน์เธาก์สยาดอของพระภิกษุนิกายสุธรรมะ และเป็นพระอาจารย์ของพระมเหสีเซนดนของพระเจ้ามินดง สะเลยังเป็นเมืองที่พระมเหสีเซนดนทรงได้รับส่วยเป็นผลประโยชน์ สะเลปานปุรูปซงเจาง์ประกอบด้วยอาคารย่อยหกหลัง คือ อาคารประดิษฐานพระพุทธรูป อาคารเชื่อมต่อ อาคารเก็บพระคัมภีร์ อาคารหลัก อาคารสำหรับเรียนหนังสือของพระภิกษุหรือสามเณร และอาคารห้องเก็บของ ความสำคัญของสะเลปานปุรูปซงเจาง์อยู่ที่ภาพจำหลักไม้จากเนื้อเรื่องในคัมภีร์ชั้นอรรถกถาของชาดก ธรรมบท เปตวัตถุ และสุตตนิบาต ในพระสุตตันตปิฎก ได้แก่ ภูริทัตชาดก จุลลปทุมชาดก มหาวาณิชชาดก อุมมาทันตีชาดก วิธูรชาดก วรุณชาดก และกุณาลชาดก ธัมมปทัฏฐกถา อาทิ อนาถบิณฑิกเศรษฐี อุปกาชีวก บุตรเศรษฐีมีทรัพย์มาก พระสุนทรสมุทรเถระ เรือนจำ สญชัย นางปฏาจารา พระโชติกเถระ และพระขทิรวนิยเรวตเถระ รวมทั้งเขตตูปมาเปตวัตถุ (ว่าด้วยพระอรหันต์เปรียบเหมือนนา) และอุปกาชีวกในสุตตนิบาต รวมทั้งนิทานพื้นบ้านพม่าเรื่องมะชเวอูและชเวพีญเล ภาพจำหลักของนิทานในคัมภีร์อรรถกถาและนิทานพื้นบ้านเหล่านี้คงมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ประกอบการสอนจริยธรรมและให้คติเตือนใจแก่ฆราวาสรวมทั้งพระภิกษุและสามเณร เนื่องจากตำแหน่งของภาพจำหลักอยู่ภายนอกอาคารด้านหน้าที่เห็นได้ง่าย ประกอบกับเจาง์พม่าทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการศึกษาด้านจริยธรรมและวัฒนธรรมพม่าในชุมชน รวมทั้งอาจสะท้อนกระแสชาตินิยมพม่าที่ต่อต้านการครอบงำของวัฒนธรรมตะวันตก เมื่อพม่าตอนบนตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษในปี ค.ศ. 1885 และอังกฤษส่งเสริมการศึกษาสมัยใหม่มากกว่าการศึกษาแบบเดิมในวัดทางพระพุทธศาสนา สะเลปานปุรูปซงเจาง์ถวายให้เป็นที่อยู่ของพระสงฆ์ในปี ค.ศ. 1892
Pan-pu-youp-soum Kyaung, Sa-le is a well-known Burmese Buddhist monastery adorned with wood-carvings of human figures. It was built by a beef trader to donate to U Guna, a Burmese monk who was a gaing-htauk sayadaw [assistant monk leader] of Thudhamma Nikaya and a monk teacher of King Mindon and Queen Seindone. Sa-le was an appanage town of Queen Seindone. Sa-le Pan-pu-youp-soum Kyaung includes six minor halls or buildings; namely, the Buddha hall, connection hall, hall for Buddhist scriptures, main hall, study hall, and storage room. It is most significant for its wood-carvings in high relief depicting scenes of Buddhist stories from the Commentary of Khuddaka Nikaya, Sutta Pitaka; such as dhammapada [the path of dhamma], sutta nipata [the Sutta collection], petavatthu [stories of hungry ghosts], and jataka [birth stories]. Jataka stories include the Varana, Culla Paduma, Maha Vanija, Ummadanti, Kunala, Bhuridatta, and Vidhura jatakas. Dhammapada comprise stories of Anathapindika; Upaka; Mahadhana, the treasurer’s son; Monk Sariputta; Nun Patacara; Venerable Revata; a courtesan tempting a monk (Sundara Samudda); Ajatasattu's attacks on Jotika’s palace; and the Prison-House. Wood-carvings also depict scenes of the story of a wealthy man’s son in khettupama, petavatthu; the continued story of Upaka in sutta nipata; and a Burmese folktale of Ma Shwe-U and Shwe-phjin-le Nat. These wood-carvings aimed to provide Buddhist moral teachings to laymen as well as monks and novices since they were adorned on balustrades and outside walls on the front of a study hall. Kyaung in Burmese means a monastery and a school; it is a center of Burmese education where Burmese culture has been preserved. Sa-le Pan-pu-youp-soum Kyaung probably reflected Burmese nationalism and opposed British and Western influences after the whole of Burma fell under British rule in 1885 and the British introduced modernized British education. Sa-le Pan-pu-youp-soum Kyuang was donated to U Guna and monk communities in 1892.
คำสำคัญ: เจาง์พม่า สังฆิกวิหารพม่า ภาพจำหลักไม้พม่า เมืองสะเล
Keywords: Burmese Buddhist monastery, kyaung, Burmese wood-carving, Sa-le
Najua Journal, Architecture, Design and Built Environment, 2018
The paper aims to compare city layouts of Ayutthaya, Hanthawaddy, and Toungoo, capitals of the Si... more The paper aims to compare city layouts of Ayutthaya, Hanthawaddy, and Toungoo, capitals of the Siamese, Mon, and Burmese during the fourteenth to the sixteenth centuries after the fall of Pagan and Angkor. Historic city of Ayutthaya had an irregular shape and was surrounded by three rivers. The inner city with the royal palace to the northwest also consisted of several canals used for transportation and water supply. There were Buddhist temples in both the inner city and outer areas. While Hanthawaddy city of the Mon was established by King Byinnya U to the east of the Pegu River. It was enclosed with walls and had a shape of a sixteen-sided polygon with eight city gates. The royal palace was likely built at the center of the inner city whereas the Shwe Mawdaw, the most important pagoda, was situated outside the inner city to the west. Hanthawadddy was changed to a shape of a square in the reign of the Burmese King Bayinnaung who transferred the Burmese capital from Toungoo to Hanthawaddy around 1553. Hanthawaddy of King Bayinnaung was designed after the model of Toungoo or Ketumati with a shape of a square enclosed with walls and moats. The two cities consisted of the palace at the center, twenty city gates with five gates on each side, and ten streets to connect the gates on the north to those of the south and those of the east to those of the west. They also had four pagodas each at the corner of the city. This comparison provides the understanding of culture and characteristics of the Siamese, Mon, and Burmese.
Keywords: Ayutthaya, Hanthawaddy, Pegu, Toungoo, Ketumati
Najua Journal: History of Architecture and Thai Architecture, 2017
ลักษณะผังเมืองโบราณสุโขทัยประมวลได้จากจารึกพ่อขุนรามคำแหงอายุ พ.ศ. 1835 ที่เมื่อแรกสร้างรับอิทธิ... more ลักษณะผังเมืองโบราณสุโขทัยประมวลได้จากจารึกพ่อขุนรามคำแหงอายุ
พ.ศ. 1835 ที่เมื่อแรกสร้างรับอิทธิพลทั้งจากเขมรและมอญ ผังเมืองโบราณ
สุโขทัยที่สร้างในสมัยพ่อขุนศรีนาวนำถมมีลักษณะคล้ายผังเมืองเขมรใน
ประเทศไทยและในประเทศกัมพูชา กล่าวคือเป็นผังเมืองรูปสี่เหลี่ยมที่มี
กำแพงและคูน้ำล้อมรอบ ภายในเมืองและนอกเมืองมีสระน้ำรูปสี่เหลี่ยม
เพื่อการอุปโภคและบริโภค รวมทั้งมีอ่างกักเก็บน้ำตั้งอยู่นอกเมืองเพื่อการ
ชลประทานในการทำเกษตรกรรม ลักษณะมอญปรากฏที่ตำแหน่งทางเข้า
หลักของเมืองสุโขทัยทางทิศเหนือ ซึ่งคล้ายคลึงกับที่ปรากฏ ณ เมืองหริภุญชัย
และเชียงใหม่ และกึ่งกลางเมืองเป็นที่ตั้งของพระเจดีย์สำคัญประจำเมือง
สุโขทัยยังมีวัฒนธรรมการปลูกตาลคล้ายกับสุพรรณบุรี ราชบุรี เพชรบุรี และ
นครศรีธรรมราช รวมทั้งพุกามในประเทศพม่า คนพม่าที่พุกามนิยมถวาย
สวนตาลให้กับวัดและพระเจดีย์ เพราะต้นตาลเป็นไม้สารพัดประโยชน์
ใบตาลใช้ทำตาลปัตรและเป็นกระดาษสำหรับจารหนังสือ น้ำตาลปึกใช้เป็น
ส่วนผสมของยาแพทย์แผนโบราณและปูนตำในงานสถาปัตยกรรม
คำสำคัญ : ผังเมืองประวัติศาสตร์สุโขทัย, เขมร, มอญ, ต้นตาล
The characteristics of Sukhothai’s historic town in the early stage
of its establishment were described in the inscription of King
Ramkhamhaeng dated 1292. Sukhothai town planning was
probably influenced by the Khmer and Mon. Sukhothai historic
town layout established in the reign of Khun Sri Naonumthom
resembled Khmer towns in Thailand and Cambodia. They were
built in a rectangular shape enclosed with walls and moats and
included ponds in a rectangular form for daily used inside and
outside the inner town. Furthermore, they had reservoirs for
irrigation system outside the inner town. Mon characteristics in
Sukhothai were found on the location of the main town gate
to the north parallel to those of Hariphunchai and Chiang Mai
as well as of the principal pagoda established at the center.
People of Sukhothai had a custom to plant toddy palm trees
parallel to those of Suphanburi, Ratchaburi, Phetchaburi, and
Nakhon Si Thammarat in Thailand as well as to those of Pagan
in Burma. The Burmese of Pagan donated toddy palm groves
to Buddhist monasteries and pagodas as the trees provided
multiple uses. Toddy plam leaves were used to make fans
and writing material. Palm jaggery could be a component of
traditional medicine and an organic admixture of traditional
mortar for architecture.
Keywords: historic town of Sukhothai, Khmer, Mon, toddy palm
trees
Najua Journal: History of Architecture and Thai Architecture, 2015
คำว่า เศรษฐี ภาษาสันสกฤตมาจากรากศัพท์ เศรษฐะ ที่แปลว่า ดีเลิศ และ เป็นที่มาของคำว่า เฉตเตีย หรือ... more คำว่า เศรษฐี ภาษาสันสกฤตมาจากรากศัพท์ เศรษฐะ ที่แปลว่า ดีเลิศ และ
เป็นที่มาของคำว่า เฉตเตีย หรือ เฉตตี หรือ เสตตี ที่เป็นชื่อตำแหน่งพ่อค้า
ใช้โดยคนหลายกลุ่มในประเทศอินเดีย บทความนี้เน้นที่สถาปัตยกรรม
คฤหาสน์ของนัตตุโกตไตเฉตเตีย หรือนัตตุโกตไตเศรษฐี (เศรษฐีผู้สร้างเรือน
เป็นคฤหาสน์) ที่เรียกตัวเองว่า ชาวนคร (คนเมือง) ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่แคว้น
ปุทุกโกตไตและศิวคงคา รัฐทมิฬนาฑู ประเทศอินเดีย ในช่วงคริสต์ศตวรรษ
ที่ 19-20 นัตตุโกตไตเฉตเตียทำการค้าและการธนาคารในศรีลังกาและหลาย
ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น พม่า มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย
และเวียดนาม จากความมั่งคั่งทางการค้าและการธนาคารในศรีลังกาและ
เอเชียอาคเนย์ นัตตุโกตไตเฉตเตียส่งเงินกลับประเทศอินเดียเพื่อการลงทุน
อุตสาหกรรมและการบริจาคเพื่อสาธารณประโยชน์ รวมทั้งสร้างชุมชนที่มี
การวางผังอย่างดี และสร้างที่อยู่อาศัยใหญ่โตเป็นคฤหาสน์ที่บ้านเกิดในแคว้น
ทมิฬนาฑู ผังของชุมชนนัตตุโกตไตเฉตเตียมีลักษณะเป็นตารางรูปสี่เหลี่ยมที่มี
ระบบการจัดการน้ำเพื่อการเกษตร อุปโภค และบริโภค วัสดุที่ใช้ในการสร้างคฤหาสน์นำเข้าจากต่างประเทศ เช่น ไม้สักจากพม่า ไม้ซาตินจากศรีลังกา
หินอ่อนและกระจกเงาจากอิตาลี กระเบื้องเซรามิคจากญี่ปุ่น และเหล็กหล่อ
จากอังกฤษ คฤหาสน์ของนัตตุโกตไตเฉตเตียมีลักษณะร่วมกับเรือนพื้นถิ่น
ทมิฬนาฑู และลักษณะเฉพาะของนัตตุโกตไตเฉตเตียที่แยกทางเข้าของชาย
และหญิง
คำสำคัญ: คฤหาสน์, นัตตุโกตไตเฉตเตีย, เฉตเตีย, ทมิฬนาฑู
The term “shresthi” had original root from Sanskrit “shresta”
meaning superior and was a source of the term “chettiar,” or
“chetty,” or “settee.” Chettiar was the name title of a trading
group of many ethnic communities in India. This paper focuses
on the architecture of palatial houses of Nattukottai Chettiars
or Nattukottai Shresthis or Nagarathars (town people) in
Pudukkottai and Sivaganga districts, Tamil Nadu, India. During the 19-20 centuries, Nattukottai Chettiars were involved in trade
and banking business in Sri Lanka and countries in Southeast
Asia, such as Burma, Malaysia, Singapore, Indonesia, and
Vietnam. Being wealthy from trade, they sent money back home
in India for industrial investment and philanthropy as well as
establishing well organized villages and palatial houses in Tamil
Nadu. Their village layout was arranged in a grid pattern with
irrigation system and ponds supplying water for drinking and
domestic uses. Their architectural materials used to build
palatial houses were imported from abroad ; for example teak
from Burma, satin wood from Ceylon ; marble and mirror from
Italy, ceramic tiles from Japan ; and steel from England. Chettiar
palatial houses mixed indigenous traditional houses in Tamil
Nadu as well as chettiars’ characteristic of separate entrances
for male and female.
Keywords: Palatial houses, Nattukottai Chettiar, Chettiar, Tamil Nadu
Books by Chotima Chaturawong
E.T. Publishing, 2020
หนังสือนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบสถาปัตยกรรมประดิษฐานพระพุทธรูปในประเทศไทย เมียนมา และศรีล... more หนังสือนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบสถาปัตยกรรมประดิษฐานพระพุทธรูปในประเทศไทย เมียนมา และศรีลังกา ที่สร้างระหว่างช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14-15 การศึกษาพบว่า สถาปัตยกรรมและศิลปะสมัยคัมโปละของศรีลังกามีอิทธิพลอินเดียใต้ เพราะเป็นช่วงที่การเมืองและการศาสนาของศรีลังกาอ่อนแอ แต่ศิลปะคัมโปละก็ให้แรงบันดาลใจแก่ศิลปสถาปัตยกรรมสุโขทัย อาทิ เกตุมาลาของพระพุทธรูป ซุ้มกาลมกรโทรณะ เจดีย์องค์ระฆังที่มีชั้นมาลัยเถาเป็นบัวฝาละมี และทิศคช ขณะที่ลักษณะสำคัญของสถาปัตยกรรมกรณีศึกษาสุโขทัยและเชียงใหม่มีรากฐานมาจากวัฒนธรรมมอญ และแรงบันดาลใจจากพุกาม ได้แก่ การแยกห้องคูหาพระพุทธรูปประธานที่เปรียบเสมือนกุฏิของพระพุทธเจ้าและเป็นสัญลักษณ์ของโลกุตระ ออกจากวิหารอันเป็นพื้นที่ฟังธรรมของปุถุชนที่เปรียบเสมือนโลกียะ วิหารที่มีห้องคูหาท้ายอาคารทำหน้าที่อย่างธรรมศาลามอญ ซึ่งในอดีตเป็นอาคารประธานของวัดประเภทสังฆาวาสในวัฒนธรรมมอญและพม่า ส่วนคำว่า มณฑป ที่หมายถึง อาคารผังรูปสี่เหลี่ยมมีหลังคาเครื่องยอด อาจได้แรงบันดาลใจจากสถาปัตยกรรมเขมรที่หมายถึงปราสาทขนาดเล็ก เพราะไม่ปรากฏคำนี้ทั้งในภาษา มอญ พม่า ลาว และสิงหล มณฑปอาจแผลงมาจากคำว่า มณฑิร หรือมณเฑียร ขณะเดียวกันศิลปะและสถาปัตยกรรมพุกามอันเป็นศูนย์กลางการศึกษาปริยัติธรรมหนึ่งให้แรงบันดาลใจหลายประการแก่ศิลปสถาปัตยกรรมคัมโปละ
คำสำคัญ: วิหาร มณฑป สุโขทัย เชียงใหม่ พุกาม มอญ คัมโปละ
This book compares the architecture of Buddha shrines in Thailand, Myanmar, and Sri Lanka built during the 14th to 15th centuries when Gampola was the capital of Sri Lanka; Pagan in Upper Burma started to decline; the Mon in Lower Burma became independent; and Sinhalese Buddhism was popular in Sukhothai and Chiang Mai. Buddha shrines studied in Sukhothai and Chiang Mai were chosen from Buddhist temples that had a mondop [square plan architecture surmounted by a pyramidal roof] or a wihan [assembly hall] attached by a Buddha chamber to the rear as the principal architecture of the compound. These temples were located outside Sukhothai’s historic town, while those in Chiang Mai were built during the 18th to 19th centuries both inside and outside the inner town. The study suggests that the art and architecture of Buddha shrines in Gampola, Sri Lanka had south Indian influence, for during this period the politics and Buddhism of Sri Lanka were weak. However, Gampola art and architecture inspired that of Sukhothai, such as ketumala, makara torana, dig-gajah [elephants of the directions], and the bell-shaped pagoda supported by three bands of upside-down lotus mouldings. However, the principal characteristics of wihan studied in Sukhothai and Chiang Mai were based on those of the Mon and some were inspired by Pagan; for example, the separation of the Buddha chamber, a place for the Buddha, to the rear from an assembly hall, a place for commoners to the front; the former was built with brick and symbolized lokuttara [supermundane] while the latter was constructed with wood or wood mixed with brick and signified lokiya [mundane]. A wihan attached by a Buddha chamber to the rear had a role as a dhammasala of the Mon. Previously, a dhammasala of a small Mon and Burmese monastery was likely located at the center as the principal architecture of the compound. The term mondop in Thai was probably inspired by that of the Khmer referring to a small prasat [temple], as the term was not found in Mon, Burmese, Lao, and Sinhalese. Mondop likely derived from the term mandir or mandira. The art and architecture of Pagan, an important center of Buddhist scriptures in Southeast Asia, also inspired that of Gampola.
Keywords: wihan, vihara, mondop, Sukhothai, Chiang Mai, Pagan, Mon, Gampola
E.T. Publishing, 2011
Mon Buddhist monasteries in Moulmein during the nineteenth and early twentieth centuries were bui... more Mon Buddhist monasteries in Moulmein during the nineteenth and early twentieth centuries were built by teak and rice merchants. Earlier Mon monasteries had been built by the monarchy, but Lower Burma lacked royal patronage after it came under British rule in 1826. Moulmein was a center of teak and rice trade and the capital of Lower Burma from 1829 to 1862. Because of trade, Moulmein was prosperous, and wealthy merchants built Buddhist monasteries. This research aims to find the characteristics of the architecture of Mon Buddhist monasteries in Moulmein built during the nineteenth and early twentieth centuries. Although there are several Mon Buddhist monasteries in Thailand, they were built after Thai styles. The study will focus on monasteries in the town of Moulmein and the Kado and the Kawnat villages to its north. Mon Buddhist monasteries in Moulmein share characteristics with Burmese Buddhist monasteries in Upper Burma and Mon houses in Thailand. However, Mon monasteries in Moulmein were often built with brick whereas those of the Burmese were built with wood. Their main entrances or staircases were usually placed to the north, similar to the direction of the entrance of a Mon house in central Thailand. Besides providing architectural characteristics of Mon Buddhist monasteries, this study also relates to the socio-cultural contexts of the areas, such as society, the economy, politics, education, Buddhism, and relations between the kingdoms of Burma and Siam.
Decoding Southeast Asian Art: Studies in Honor of Piriya Krairiksh. Bangkok: River Books, pp. 194-211. , 2022
The Ānanda of Bagan (Pagan) in central upper Myanmar is a masterpiece of King Kyanzittha and Baga... more The Ānanda of Bagan (Pagan) in central upper Myanmar is a masterpiece of King Kyanzittha and Bagan architecture. It is a four-faced (caturmukha) temple, being a square building having four projecting porches or halls at the cardinal directions. It belongs to the Buddhist tradition of the eleventh to twelfth centuries CE. This essay examines the religious and ritual symbols of the Ānanda temple. The temple houses statues of the four buddhas of the past, including the historical Gotama Buddha and his three predecessors; their arrangement in the four cardinal directions were probably inspired by earlier Buddhist temples in East Bengal. Although the Ānanda has four entrances at the cardinal points, those to the north and the west have been the principal accesses which also are associated with two possible ways to worship the four buddhas. The Ānanda is not only a shrine of the four buddhas but also a temple, a stupa, and symbol of the Bodhi tree under which Gotama Buddha attained Enlightenment.
วิหารถํ้าอนันทะหรืออนันทพญาของพุกามในภาคกลางตอนบนของเมียนมาเป็นโครงสร้างแบบสี่หน้าหรือจัตุรมุขซึ่งหมายถึงอาคารรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีมุขหรือโถงยื่นออกไปในทิศทั้งสี่ วิหารถํ้าอนันทะเป็นอาคารทางพระพุทธศาสนาอายุระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 11 ถึง 12 บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาสัญลักษณ์ทางศาสนาและพิธีกรรมของวิหารถํ้าอนันทะ วิหารถํ้าประดิษฐานพระพุทธรูปของพระพุทธเจ้าสี่พระองค์ที่ประกอบด้วยพระโคตมพุทธเจ้า และอดีตพระพุทธเจ้าสามพระองค์ ซึ่งตำแหน่งทิศการวางของพระพุทธรูปคงได้แรงบันดาลใจจากตำแหน่งของพระพุทธรูปในเจติยสถานทางพระพุทธศาสนาในเบงกอลตะวันออก แม้ว่าวิหารถํ้าอนันทะจะมีทางเข้าทั้งสี่ทิศ แต่ทางเข้าทิศเหนือและตะวันตกเป็นทางเข้าหลัก ซึ่งยังไปสัมพันธ์กับวิถีการบูชาพระพุทธเจ้าสี่พระองค์ที่สามารถกระทำได้สองแบบ วิหารถํ้าอนันทะมิใช่เพียงเป็นเจติยสถานสำหรับพระพุทธเจ้าสี่พระองค์เท่านั้น อนันทพญายังเป็นเจติยสถาน พระสถูป และสัญลักษณ์ต้นโพธิ์ของพระโคตมพุทธเจ้า
IIAS Newsletter, No. 93 Autumn 2022, pp. 30-31, https://www.iias.asia/sites/iias/files/theNewsletter/2022-10/IIAS\_NL93\_FULL.pdf., 2022
Journal of Bengal Art, 25: 37-52., 2020
Vishnu Anantasayin refers to a reclining Vishnu representing the creation of the universe. Relief... more Vishnu Anantasayin refers to a reclining Vishnu representing the creation of the universe. Reliefs of Vishnu Anantasayin have been found in Sri Ksetra of the Pyu, Thaton and Hpa-an of the Mon, and Pagan of the Burmese. They correspond in a cross-legged reclining Vishnu with the head to the left and lotus seats for the Hindu Trinity emerging from the reclining Vishnu’s navel, with Vishnu as the supreme one. Sculptures of reclining Vishnu have been found in India since the 4th century C.E. They were popular in south India as the principal image of Vishnu temples. Reliefs of Vishnu Anantasayin in Myanmar reflected Vaishnavism (Vishnuism) and accompanied Buddhism for the purpose of the royal cult in which Buddhist kings in Myanmar often claimed to be an incarnation of Vishnu.
Journal of Bengal Art, 16: 189-227., 2011
The art and architecture of Pagan (11th to 13th centuries C.E.) shared similarities and were infl... more The art and architecture of Pagan (11th to 13th centuries C.E.) shared similarities and were influenced by those of Eastern India during Pala-Sena period (8th to 12th centuries C.E.); for instance, a sikhara tower, a Buddha image in bhumisparsa mudra, the diamond throne, and the Eight Scenes. Early Pagan temples inspired by the Mon have similar plans and sikhara towers to those of the Buddhists and Hindus in Bengal. Sikharas of the Burmese and Bengali were also adorned with arches or windows. Buddhist temples in Eastern India and Pagan represent gandhakuti, the special chamber of the Buddha in Jetavana Monastery, India. The Mahabodhi temple in Bodhgaya was also referred to as Vajrasana Gandhakuti, since it enshrines the Buddha image in bhumisparsa mudra seated upon the vajrasana throne. A Buddha image in bhumisparsa mudra symbolizes enlightenment and the victory of the Buddha over Mara's assault. The bhumisparsa mudra was a popular posture in Eastern India and Pagan since it signified not only the Buddha's enlightenment but also was associated with the Mahabodhi temple and Bodhgaya, an important Buddhist pilgrimage site and Pala art center. The Buddha in bhumisparsa mudra was placed at the center of the Eight Scenes, the Eight Great Places of Buddhist pilgrimage, which were widely depicted on stone and terracotta plaques in Eastern India and Pagan. Four sites related to four important events in the life of the Buddha in Lumbini, Bodhgaya, Sarnath and Kusinara. Four other sites were associated with the Buddha's miracles in Sravasti, Rajgir, Sankasia and Vaishali. These sites were prominent in the politics and economy of northern India.
Connectivity and Beyond: Indo-Thai Relations Through Ages. Edited by Lipi Ghosh. Kolkata: Asiatic Society: 55-77 and 247-270., 2009
Indo-Thai culture interacts at several points of time through different ages. The Buddha image is... more Indo-Thai culture interacts at several points of time through different ages. The Buddha image is one of the ·best instances to prove this. Buddha images seated in pralambapadasana position were found in several sites of Dvaravati, Thailand, for instance the quartzite Buddha statues at Wat Pra Men, Nakhon Pathom; the bas-relief of the Buddha image on the Hermit's Cave, Khao Ngu Mountain, Ratchaburi; the bas-relief of the Buddha image on the stone depicting the Buddha jataka tale, Nakhon Pathom; and the Buddha images adorned at the Chula Paton Stupa, Nakhon Pathom. These images are seated with the feet hanging down in the western manner. They were likely imitated those of Gupta and post-Gupta art of India, such as Buddha images at Buddhist cave temples of Ajanta and Ellora. However, these Buddha images of Dvaravati mostly appear in teaching gesture (vitarka mudra) while those of India are often depicted in gesture of Turning the Wheel of the Law (dharmacakra mudra).
This paper intends to make comparison between Buddha images seated in pralambapadasana position of Dvaravati, Thailand and those of India during Kusana, Amaravati, and Gupta periods. Buddha images in pralambapadasana of India represented Dharmaraja, Bodhisattva, Cakravartin, and Maitreya. They were influenced by Mahayana Buddhism. Whereas the Buddha in pralambapadasana of Dvaravati were associated with dharmaraja, teaching of the Buddha, and important events when the Buddha spread the doctrine.
Proceeding of the Hompoom- Sathapattayapatha’ 04 Conference: Architectural Way, Communal Way, and Folkway. Chiang Mai: Faculty of Architecture, Chiang Mai University, 2004: 9-1 - 9-20, 2004
วิถีสถาปัตย์ของการจัดผังเวียงเชียงใหม่มีลักษณะคล้ายการจัดผังเมืองมัณฑเลย์ในพม่าตอนบนหลายประการเช่... more วิถีสถาปัตย์ของการจัดผังเวียงเชียงใหม่มีลักษณะคล้ายการจัดผังเมืองมัณฑเลย์ในพม่าตอนบนหลายประการเช่น ทั้งเวียงเชียงใหม่และมัณฑเลย์มีผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีคูน้ำล้อมรอบกำแพงเมืองชั้นใน กำแพงเมืองชั้นนอกก่อด้วยดิน และทั้งเวียงเชียงใหม่และมัณฑเลย์ตั้งอยู่ใกล้ภูเขาและแม่น้ำ ขณะเดียวกันการจัดผังของเวียงทั้งสองก็มีรายละเอียดที่แตกต่างกัน กล่าวคือ ดอยสุเทพตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเวียงเชียงใหม่ ขณะที่เนินเขามัณฑเลย์ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของมัณฑเลย์ แม่น้ำแม่ปิงอยู่ทางทิศตะวันออกของเวียงเชียงใหม่ ส่วนแม่น้ำอิรวดีอยู่ทางทิศตะวันตกหรือด้านหลังของมัณฑเลย์ นอกจากนั้นเวียงเชียงใหม่ประกอบด้วยวัดจำนวนกว่าเก้าสิบวัดภายในกำแพงเมืองชั้นใน ส่วนมัณฑเลย์แยกวัดทางพระพุทธศาสนาออกจากเมืองชั้นใน โดยวัดที่สร้างโดยพระบรมวงศานุวงศ์กว่ายี่สิบวัดตั้งเรียงรายอยู่ทางด้านทิศตะวันออกของเมืองชั้นนอกมัณฑเลย์
บทความนี้ตั้งใจที่จะศึกษาเปรียบเทียบลักษณะผังของเวียงเชียงใหม่และมัณฑเลย์ในพม่าตอนบนที่สร้างภายหลังเชียงใหม่กว่าห้าร้อยปี ลักษณะการจัดผังของเวียงทั้งสองสัมพันธ์กับความเชื่อเรื่องทิศ เชียงใหม่ให้ความสำคัญกับทิศเหนือเสมือนส่วนหัวของเมือง ขณะที่มัณฑเลย์ให้ความสำคัญกับทิศตะวันออก ความเชื่อเรื่องทิศมีผลต่อการใช้พื้นที่ในเวียงเชียงใหม่และมัณฑเลย์มิวที่สามารถเทียบความสำคัญได้กับอวัยวะของร่างกายมนุษย์ นอกจากการวางผังของมัณฑเลย์จะสัมพันธ์กับไทยวนเชียงใหม่แล้วยังอาจได้รับอิทธิพลจากอินเดีย การศึกษาเปรียบเทียบผังของเวียงเชียงใหม่และมัณฑเลย์นำไปสู่ความเข้าใจในวิถีชีวิต และวิถีชุมชนของคนไทยวนในล้านนาและคนพม่าในพม่าตอนบน
Chiang Mai and Mandalay share similarities in city layout and geography. The cities were established in a shape of a square and located near mountains and rivers. Chiang Mai and Mandalay were divided into two parts, inner and outer areas. Inner area was surrounded with brick walls and moats and outer area was enclosed with earthen walls. However, Chiang Mai and Mandalay differed in locations of mountains, rivers, and Buddhist temples. Suthep Mountain and Ping River are to the northwest and to the east of Chiang Mai. Whereas the Mandalay Hill and the Irawaddy River are to the northeast and to the west of Mandalay. Buddhist temples were scattered in both the inner and outer areas of Chiang Mai. Whereas Burmese Buddhist temples were founded only in the outer area of Mandalay.
The paper aims to discuss the similarities and differences of Chiang Mai and Mandalay, the capital of Lanna and Upper Burma. Area uses of Chiang Mai and Mandalay divided according to the cardinal points associated with beliefs of directions; and their importance corresponded to four parts of human body. For example, the head which is considered the
most important corresponded to the northern part of Chiang Mai and the eastern part of Mandalay. Besides sharing similarities with Chiang Mai, the layout of Mandalay also contained influence of Mandala from India. The similarities and differences of Chiang Mai and Mandalay reflect cross-cultural exchanges between Tai Yuan in Lanna and Burmese in Upper Burma and lead to better understand their ways of living.
หน้าจั่ว: ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมไทย, 5 (กันยายน, 2550): 38-65. [Najua Journal: History of Architecture and Thai Architecture, 5], 2007
การค้าไม้สักทางภาคเหนือของสยามเริ่มในราวปี พ.ศ. ๒๒๘ เนื่องจากไม้สักมีจำนวนมากในภาคเหนือของสยาม มี... more การค้าไม้สักทางภาคเหนือของสยามเริ่มในราวปี พ.ศ. ๒๒๘ เนื่องจากไม้สักมีจำนวนมากในภาคเหนือของสยาม มีเส้นทางทางบกจากตะนาวศรีของพม่าถึงภาคเหนือจึงทำให้พ่อค้าจากพม่าตอนล่างสามารถเดินทางเข้าสู่ภาคเหนือของสยามได้ และไม้สักทางภาคเหนือของสยามที่อยู่ทางด้านตะวันตกของภาคสามารถตัดและล่องลงสู่แม่น้ำสาละวินออกสู่เมืองเมาะละแหม่งในพม่าตอนล่างศูนย์การค้าไม้สักและท่าเรือของอังกฤษได้ การค้าไม้สักในภาคเหนือของสยามเจริญรุ่งเรืองภายหลังจากที่อังกฤษสามารถมีอำนาจเหนือดินแดนพะโคในพม่าในปีพ.ศ.๒๓๙๕ และภายหลังจากการลงนามในสนธิสัญญาเบาว์ริ่งระหว่างอังกฤษและสยาม การค้าไม้สักในสยามสัมพันธ์กับชุมชนคนในบังคับอังกฤษ และว่าที่วัดพม่าที่อุปถัมภ์โดยพ่อค้าไม้สักชาวพม่า มอญ ไทใหญ่ และปะโอหรือตองสู้ ทางภาคเหนือของสยาม คนสยามและคนทางภาคเหนือมักจะเรียกวัดเหล่านี้ว่าวัดพม่า ซึ่งในความเป็นจริงแล้ววัดเหล่านี้ส่วนใหญ่แล้วสร้างโดยคนที่ไม่ใช่เชื้อสายพม่าและลักษณะสถาปัตยกรรมก็แตกต่างจากวัดพม่าในพม่าตอนบน ลักษณะสถาปัตยกรรมวัดอุปคุตว่าที่วัดพม่าในจังหวัดเชียงใหม่ ตลอดจนประวัติของผู้สร้างวิหารที่เป็นที่อยู่ของพระสงฆ์ภายในวัดสะท้อนให้เห็นถึงสภาพการเมืองและเศษฐกิจของเชียงใหม่และภาคเหนือของสยามในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ และต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๒๐ อันเป็นช่วงเวลาการปฏิรูปการปกครองของสยาม ผู้สร้างวิหารวัดอุปคุตยังซ่อมเจดีย์ที่วัดเจดีย์เหลี่ยมที่สร้างเลียนแบบเจดีย์วัดกู่กุดในสมัยหริภุญชัย ทั้งเจดีย์วัดเจดีย์เหลี่ยมและวัดอุปคุตยังสัมพันธ์กับอายุและเรือนของผู้สร้างตามประเพณีอย่างมอญ พม่าและล้านนา ขณะที่ว่าที่วัดพม่าในลำปางสะท้อนความสัมพันธ์ระหว่างพม่าตอนล่างและภาคเหนือของสยาม เนื่องจากลักษณะของรูปทรงหลังคาและช่องลมแบบลายน้ำไหลที่พบในว่าที่วัดพม่าและเรือนของคหบดีในจังหวัดลำปางมีความคล้ายคลึงกันกับรูปทรงหลังคาและช่องลมที่พบที่เมือง
เมาะละแหม่งในพม่าตอนล่าง
หน้าจั่ว: ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมไทย, 1 (มกราคม, 2547): 14-41. [Najua Journal: History of Architecture and Thai Architecture, 1], 2004
เจาง์ สถาปัตยกรรมทางพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทของพม่า มีลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างจากอาคารทางพระพุทธศา... more เจาง์ สถาปัตยกรรมทางพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทของพม่า มีลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างจากอาคารทางพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทในประเทศอื่น เช่น ศรีลังกา, ลาว, เขมร, และไทย เนื่องจากเจาง์ของพม่าเป็นอาคารอเนกประสงค์ที่รวมพื้นที่ของกุฏิ วิหาร และศาลาการเปรียญ ตามความหมายอย่างไทยไว้ด้วยกัน เจาง์ของพม่าประกอบด้วยที่อยู่ของภิกษุสงฆ์และสามเณร ที่ประดิษฐานพระพุทธรูปที่สำหรับพุทธศาสนิกชนทำบุญและฟังธรรมเทศนาและที่เก็บของ เจาง์ส่วนใหญ่สร้างด้วยไม้แบบเรือนยกเสาสูงและมีแนวแกนหลักในทิศตะวันออก-ตะวันตก
บทความนี้เลือกที่จะศึกษาสถาปัตยกรรมประเภทเจาง์ของพม่า เนื่องจากเจาง์ของพม่ายังไม่มีการศึกษาอย่างแพร่หลาย และเจาง์ยังสะท้อนลักษณะทางวัฒนธรรมและสังคมของพม่าบางประการที่แตกต่างจากของประเทศอื่นที่นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทเหมือนกัน การศึกษาเนันเจาง์ที่สร้างโดยพระมหากษัตริย์ในเมืองมัณฑเลย์ สมัยพระเจ้ามินดง (พ.ศ.๒๓๙๖-๒๔๒๑) และสมัยพระเจ้าธีบอ (พ.ศ. ๒๔๒๑-๒๔๒๘) หรือสมัยตอนปลายของราชวงศ์คองบอง ก่อนที่ประเทศพม่าทั้งหมดจะตกเป็นเมืองขึ้นของประเทศอังกฤษในปี พ.ศ. ๒๔๒๘ เนื่องจากเจาง์ที่สร้างโดยพระมหากษัตริย์เปิดกว้างต่อการตีความและเกี่ยวข้องกับการเมืองในสมัยพระเจ้ามินดง ประกอบกับสถาปัตยกรรมไม้ที่หลงเหลือในประเทศพม่าปัจจุบัน ส่วนใหญ่สร้างในสมัยพระเจ้ามินดงและพระเจ้าธีบอ บทความนี้พยายามใช้สถาปัตยกรรมประเภทเจาง์ของพม่าเพื่ออธิบายลักษณะทางสังคม วัฒนธรรม และการเมืองของพม่าในสมัยพระเจ้ามินดงและพระเจ้าธีบอ การศึกษาเจาง์ของพม่าจึงใช้วิธีการมองผ่านต้นไม้ เนื่องจากต้นไม้เกี่ยวข้องกับความเชื่อเดิมของพม่าและความเชื่อทางพระพุทธศาสนาที่ว่าต้นไม้เป็นที่อยู่ของวิญญานหรือนัต หรือเทพารักษ์รักษาต้นไม้ ไม้สักเป็นวัสดุขั้นดีในการสร้างสถาปัตยกรรมเจาง์และยังเป็นวัสดุชั้นเลิศในการต่อเรือเดินทะเล การค้าไม้สักเกี่ยวข้องกับการเมืองของพระเจ้ามินดงและอังกฤษ การศึกษาสถาปัตยกรรมเจาง์ของพม่โดยการมองผ่านชีวประวัติของไม้สักในช่วงที่ไม้สักถูกมองเป็นสินค้า นำพาให้สถาปัตยกรรมประเภทเจาง์ที่สร้างด้วยไม้สักเกี่ยวข้องกับความเชื่อ การเมือง และเศรษฐกิจในสมัยพระเจ้ามินดงและพระเจ้าธีบอ นอกจากนั้นข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และคติความเชื่อเรื่องพระมหากษัตริย์ในทางพระพุทธศาสนา ยังช่วยในการวิเคราะห์สถาปัตยกรรมประเภทเจาง์ของพม่าอีกด้วย
India-Thailand Cultural Interactions: Glimpses from the Past to Present, Edited by Dr. Lipi Ghosh. Delhi: Springer Singapore: 53-85., 2017
Mandapa, a Sanskrit term, means a pillared outdoor hall or a pavilion for public rituals in India... more Mandapa, a Sanskrit term, means a pillared outdoor hall or a pavilion for public rituals in Indian architecture. The architecture of mandapa in Southeast Asia also shares similarities to that in India, for instance mandapas in Cambodia and Vietnam. These had a rectangular floor plan, were the site of ritual ceremonies, and were located to the front of an image shrine called garbha griha or garbha grha. However, in Sukhothai a mandapa referred to a small building enshrining a Buddha image or sometimes multiple images. Its role was parallel to an image shrine (garbha griha) of Hindu and Buddhist architecture in India and Sri Lanka. A Sukhothai mandapa or mondop was often located to the back of a vihara which corresponded to a mandapa in India where ceremonies were held. This paper aims to understand the term mandapa and compares the architecture of mandapas in India, Sri Lanka, Myanmar, and Sukhothai, Thailand. Sukhothai mondops represented a pavilion where the Buddha resided, and its function was equivalent to a gandakuti, a perfumed chamber, or a karerikuti where the Buddha dwelled in Jetavana monastery, India. The vihara to its front corresponded to a reception area. Mondop and its attached vihara of Sukhothai were also like a dhammasala or dhammamandapa in Pagan, Myanmar. The comparison of mandapas in India, Sri Lanka, Myanmar, and Thailand will provide indigenous architectural characteristics as well as links to the history, culture, and religion of the people.
Najua Journal: History of Architecture and Thai Architecture, 2012
ปานปุรูปซงเจาง์ เมืองสะเลเป็นสังฆิกวิหารไม้ที่ประดับด้วยภาพจำหลักรูปบุคคลอันเป็นสังฆิกวิหารที่มีช... more ปานปุรูปซงเจาง์ เมืองสะเลเป็นสังฆิกวิหารไม้ที่ประดับด้วยภาพจำหลักรูปบุคคลอันเป็นสังฆิกวิหารที่มีชื่อเสียงของพม่า สะเลปานปุรูปซงเจาง์สร้างโดยพ่อค้าเนื้อวัว เพื่อถวายเป็นที่จำพรรษาแก่พระอูกุณะ ไกน์เธาก์สยาดอของพระภิกษุนิกายสุธรรมะ และเป็นพระอาจารย์ของพระมเหสีเซนดนของพระเจ้ามินดง สะเลยังเป็นเมืองที่พระมเหสีเซนดนทรงได้รับส่วยเป็นผลประโยชน์ สะเลปานปุรูปซงเจาง์ประกอบด้วยอาคารย่อยหกหลัง คือ อาคารประดิษฐานพระพุทธรูป อาคารเชื่อมต่อ อาคารเก็บพระคัมภีร์ อาคารหลัก อาคารสำหรับเรียนหนังสือของพระภิกษุหรือสามเณร และอาคารห้องเก็บของ ความสำคัญของสะเลปานปุรูปซงเจาง์อยู่ที่ภาพจำหลักไม้จากเนื้อเรื่องในคัมภีร์ชั้นอรรถกถาของชาดก ธรรมบท เปตวัตถุ และสุตตนิบาต ในพระสุตตันตปิฎก ได้แก่ ภูริทัตชาดก จุลลปทุมชาดก มหาวาณิชชาดก อุมมาทันตีชาดก วิธูรชาดก วรุณชาดก และกุณาลชาดก ธัมมปทัฏฐกถา อาทิ อนาถบิณฑิกเศรษฐี อุปกาชีวก บุตรเศรษฐีมีทรัพย์มาก พระสุนทรสมุทรเถระ เรือนจำ สญชัย นางปฏาจารา พระโชติกเถระ และพระขทิรวนิยเรวตเถระ รวมทั้งเขตตูปมาเปตวัตถุ (ว่าด้วยพระอรหันต์เปรียบเหมือนนา) และอุปกาชีวกในสุตตนิบาต รวมทั้งนิทานพื้นบ้านพม่าเรื่องมะชเวอูและชเวพีญเล ภาพจำหลักของนิทานในคัมภีร์อรรถกถาและนิทานพื้นบ้านเหล่านี้คงมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ประกอบการสอนจริยธรรมและให้คติเตือนใจแก่ฆราวาสรวมทั้งพระภิกษุและสามเณร เนื่องจากตำแหน่งของภาพจำหลักอยู่ภายนอกอาคารด้านหน้าที่เห็นได้ง่าย ประกอบกับเจาง์พม่าทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการศึกษาด้านจริยธรรมและวัฒนธรรมพม่าในชุมชน รวมทั้งอาจสะท้อนกระแสชาตินิยมพม่าที่ต่อต้านการครอบงำของวัฒนธรรมตะวันตก เมื่อพม่าตอนบนตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษในปี ค.ศ. 1885 และอังกฤษส่งเสริมการศึกษาสมัยใหม่มากกว่าการศึกษาแบบเดิมในวัดทางพระพุทธศาสนา สะเลปานปุรูปซงเจาง์ถวายให้เป็นที่อยู่ของพระสงฆ์ในปี ค.ศ. 1892
Pan-pu-youp-soum Kyaung, Sa-le is a well-known Burmese Buddhist monastery adorned with wood-carvings of human figures. It was built by a beef trader to donate to U Guna, a Burmese monk who was a gaing-htauk sayadaw [assistant monk leader] of Thudhamma Nikaya and a monk teacher of King Mindon and Queen Seindone. Sa-le was an appanage town of Queen Seindone. Sa-le Pan-pu-youp-soum Kyaung includes six minor halls or buildings; namely, the Buddha hall, connection hall, hall for Buddhist scriptures, main hall, study hall, and storage room. It is most significant for its wood-carvings in high relief depicting scenes of Buddhist stories from the Commentary of Khuddaka Nikaya, Sutta Pitaka; such as dhammapada [the path of dhamma], sutta nipata [the Sutta collection], petavatthu [stories of hungry ghosts], and jataka [birth stories]. Jataka stories include the Varana, Culla Paduma, Maha Vanija, Ummadanti, Kunala, Bhuridatta, and Vidhura jatakas. Dhammapada comprise stories of Anathapindika; Upaka; Mahadhana, the treasurer’s son; Monk Sariputta; Nun Patacara; Venerable Revata; a courtesan tempting a monk (Sundara Samudda); Ajatasattu's attacks on Jotika’s palace; and the Prison-House. Wood-carvings also depict scenes of the story of a wealthy man’s son in khettupama, petavatthu; the continued story of Upaka in sutta nipata; and a Burmese folktale of Ma Shwe-U and Shwe-phjin-le Nat. These wood-carvings aimed to provide Buddhist moral teachings to laymen as well as monks and novices since they were adorned on balustrades and outside walls on the front of a study hall. Kyaung in Burmese means a monastery and a school; it is a center of Burmese education where Burmese culture has been preserved. Sa-le Pan-pu-youp-soum Kyaung probably reflected Burmese nationalism and opposed British and Western influences after the whole of Burma fell under British rule in 1885 and the British introduced modernized British education. Sa-le Pan-pu-youp-soum Kyuang was donated to U Guna and monk communities in 1892.
คำสำคัญ: เจาง์พม่า สังฆิกวิหารพม่า ภาพจำหลักไม้พม่า เมืองสะเล
Keywords: Burmese Buddhist monastery, kyaung, Burmese wood-carving, Sa-le
Najua Journal, Architecture, Design and Built Environment, 2018
The paper aims to compare city layouts of Ayutthaya, Hanthawaddy, and Toungoo, capitals of the Si... more The paper aims to compare city layouts of Ayutthaya, Hanthawaddy, and Toungoo, capitals of the Siamese, Mon, and Burmese during the fourteenth to the sixteenth centuries after the fall of Pagan and Angkor. Historic city of Ayutthaya had an irregular shape and was surrounded by three rivers. The inner city with the royal palace to the northwest also consisted of several canals used for transportation and water supply. There were Buddhist temples in both the inner city and outer areas. While Hanthawaddy city of the Mon was established by King Byinnya U to the east of the Pegu River. It was enclosed with walls and had a shape of a sixteen-sided polygon with eight city gates. The royal palace was likely built at the center of the inner city whereas the Shwe Mawdaw, the most important pagoda, was situated outside the inner city to the west. Hanthawadddy was changed to a shape of a square in the reign of the Burmese King Bayinnaung who transferred the Burmese capital from Toungoo to Hanthawaddy around 1553. Hanthawaddy of King Bayinnaung was designed after the model of Toungoo or Ketumati with a shape of a square enclosed with walls and moats. The two cities consisted of the palace at the center, twenty city gates with five gates on each side, and ten streets to connect the gates on the north to those of the south and those of the east to those of the west. They also had four pagodas each at the corner of the city. This comparison provides the understanding of culture and characteristics of the Siamese, Mon, and Burmese.
Keywords: Ayutthaya, Hanthawaddy, Pegu, Toungoo, Ketumati
Najua Journal: History of Architecture and Thai Architecture, 2017
ลักษณะผังเมืองโบราณสุโขทัยประมวลได้จากจารึกพ่อขุนรามคำแหงอายุ พ.ศ. 1835 ที่เมื่อแรกสร้างรับอิทธิ... more ลักษณะผังเมืองโบราณสุโขทัยประมวลได้จากจารึกพ่อขุนรามคำแหงอายุ
พ.ศ. 1835 ที่เมื่อแรกสร้างรับอิทธิพลทั้งจากเขมรและมอญ ผังเมืองโบราณ
สุโขทัยที่สร้างในสมัยพ่อขุนศรีนาวนำถมมีลักษณะคล้ายผังเมืองเขมรใน
ประเทศไทยและในประเทศกัมพูชา กล่าวคือเป็นผังเมืองรูปสี่เหลี่ยมที่มี
กำแพงและคูน้ำล้อมรอบ ภายในเมืองและนอกเมืองมีสระน้ำรูปสี่เหลี่ยม
เพื่อการอุปโภคและบริโภค รวมทั้งมีอ่างกักเก็บน้ำตั้งอยู่นอกเมืองเพื่อการ
ชลประทานในการทำเกษตรกรรม ลักษณะมอญปรากฏที่ตำแหน่งทางเข้า
หลักของเมืองสุโขทัยทางทิศเหนือ ซึ่งคล้ายคลึงกับที่ปรากฏ ณ เมืองหริภุญชัย
และเชียงใหม่ และกึ่งกลางเมืองเป็นที่ตั้งของพระเจดีย์สำคัญประจำเมือง
สุโขทัยยังมีวัฒนธรรมการปลูกตาลคล้ายกับสุพรรณบุรี ราชบุรี เพชรบุรี และ
นครศรีธรรมราช รวมทั้งพุกามในประเทศพม่า คนพม่าที่พุกามนิยมถวาย
สวนตาลให้กับวัดและพระเจดีย์ เพราะต้นตาลเป็นไม้สารพัดประโยชน์
ใบตาลใช้ทำตาลปัตรและเป็นกระดาษสำหรับจารหนังสือ น้ำตาลปึกใช้เป็น
ส่วนผสมของยาแพทย์แผนโบราณและปูนตำในงานสถาปัตยกรรม
คำสำคัญ : ผังเมืองประวัติศาสตร์สุโขทัย, เขมร, มอญ, ต้นตาล
The characteristics of Sukhothai’s historic town in the early stage
of its establishment were described in the inscription of King
Ramkhamhaeng dated 1292. Sukhothai town planning was
probably influenced by the Khmer and Mon. Sukhothai historic
town layout established in the reign of Khun Sri Naonumthom
resembled Khmer towns in Thailand and Cambodia. They were
built in a rectangular shape enclosed with walls and moats and
included ponds in a rectangular form for daily used inside and
outside the inner town. Furthermore, they had reservoirs for
irrigation system outside the inner town. Mon characteristics in
Sukhothai were found on the location of the main town gate
to the north parallel to those of Hariphunchai and Chiang Mai
as well as of the principal pagoda established at the center.
People of Sukhothai had a custom to plant toddy palm trees
parallel to those of Suphanburi, Ratchaburi, Phetchaburi, and
Nakhon Si Thammarat in Thailand as well as to those of Pagan
in Burma. The Burmese of Pagan donated toddy palm groves
to Buddhist monasteries and pagodas as the trees provided
multiple uses. Toddy plam leaves were used to make fans
and writing material. Palm jaggery could be a component of
traditional medicine and an organic admixture of traditional
mortar for architecture.
Keywords: historic town of Sukhothai, Khmer, Mon, toddy palm
trees
Najua Journal: History of Architecture and Thai Architecture, 2015
คำว่า เศรษฐี ภาษาสันสกฤตมาจากรากศัพท์ เศรษฐะ ที่แปลว่า ดีเลิศ และ เป็นที่มาของคำว่า เฉตเตีย หรือ... more คำว่า เศรษฐี ภาษาสันสกฤตมาจากรากศัพท์ เศรษฐะ ที่แปลว่า ดีเลิศ และ
เป็นที่มาของคำว่า เฉตเตีย หรือ เฉตตี หรือ เสตตี ที่เป็นชื่อตำแหน่งพ่อค้า
ใช้โดยคนหลายกลุ่มในประเทศอินเดีย บทความนี้เน้นที่สถาปัตยกรรม
คฤหาสน์ของนัตตุโกตไตเฉตเตีย หรือนัตตุโกตไตเศรษฐี (เศรษฐีผู้สร้างเรือน
เป็นคฤหาสน์) ที่เรียกตัวเองว่า ชาวนคร (คนเมือง) ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่แคว้น
ปุทุกโกตไตและศิวคงคา รัฐทมิฬนาฑู ประเทศอินเดีย ในช่วงคริสต์ศตวรรษ
ที่ 19-20 นัตตุโกตไตเฉตเตียทำการค้าและการธนาคารในศรีลังกาและหลาย
ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น พม่า มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย
และเวียดนาม จากความมั่งคั่งทางการค้าและการธนาคารในศรีลังกาและ
เอเชียอาคเนย์ นัตตุโกตไตเฉตเตียส่งเงินกลับประเทศอินเดียเพื่อการลงทุน
อุตสาหกรรมและการบริจาคเพื่อสาธารณประโยชน์ รวมทั้งสร้างชุมชนที่มี
การวางผังอย่างดี และสร้างที่อยู่อาศัยใหญ่โตเป็นคฤหาสน์ที่บ้านเกิดในแคว้น
ทมิฬนาฑู ผังของชุมชนนัตตุโกตไตเฉตเตียมีลักษณะเป็นตารางรูปสี่เหลี่ยมที่มี
ระบบการจัดการน้ำเพื่อการเกษตร อุปโภค และบริโภค วัสดุที่ใช้ในการสร้างคฤหาสน์นำเข้าจากต่างประเทศ เช่น ไม้สักจากพม่า ไม้ซาตินจากศรีลังกา
หินอ่อนและกระจกเงาจากอิตาลี กระเบื้องเซรามิคจากญี่ปุ่น และเหล็กหล่อ
จากอังกฤษ คฤหาสน์ของนัตตุโกตไตเฉตเตียมีลักษณะร่วมกับเรือนพื้นถิ่น
ทมิฬนาฑู และลักษณะเฉพาะของนัตตุโกตไตเฉตเตียที่แยกทางเข้าของชาย
และหญิง
คำสำคัญ: คฤหาสน์, นัตตุโกตไตเฉตเตีย, เฉตเตีย, ทมิฬนาฑู
The term “shresthi” had original root from Sanskrit “shresta”
meaning superior and was a source of the term “chettiar,” or
“chetty,” or “settee.” Chettiar was the name title of a trading
group of many ethnic communities in India. This paper focuses
on the architecture of palatial houses of Nattukottai Chettiars
or Nattukottai Shresthis or Nagarathars (town people) in
Pudukkottai and Sivaganga districts, Tamil Nadu, India. During the 19-20 centuries, Nattukottai Chettiars were involved in trade
and banking business in Sri Lanka and countries in Southeast
Asia, such as Burma, Malaysia, Singapore, Indonesia, and
Vietnam. Being wealthy from trade, they sent money back home
in India for industrial investment and philanthropy as well as
establishing well organized villages and palatial houses in Tamil
Nadu. Their village layout was arranged in a grid pattern with
irrigation system and ponds supplying water for drinking and
domestic uses. Their architectural materials used to build
palatial houses were imported from abroad ; for example teak
from Burma, satin wood from Ceylon ; marble and mirror from
Italy, ceramic tiles from Japan ; and steel from England. Chettiar
palatial houses mixed indigenous traditional houses in Tamil
Nadu as well as chettiars’ characteristic of separate entrances
for male and female.
Keywords: Palatial houses, Nattukottai Chettiar, Chettiar, Tamil Nadu
E.T. Publishing, 2020
หนังสือนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบสถาปัตยกรรมประดิษฐานพระพุทธรูปในประเทศไทย เมียนมา และศรีล... more หนังสือนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบสถาปัตยกรรมประดิษฐานพระพุทธรูปในประเทศไทย เมียนมา และศรีลังกา ที่สร้างระหว่างช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14-15 การศึกษาพบว่า สถาปัตยกรรมและศิลปะสมัยคัมโปละของศรีลังกามีอิทธิพลอินเดียใต้ เพราะเป็นช่วงที่การเมืองและการศาสนาของศรีลังกาอ่อนแอ แต่ศิลปะคัมโปละก็ให้แรงบันดาลใจแก่ศิลปสถาปัตยกรรมสุโขทัย อาทิ เกตุมาลาของพระพุทธรูป ซุ้มกาลมกรโทรณะ เจดีย์องค์ระฆังที่มีชั้นมาลัยเถาเป็นบัวฝาละมี และทิศคช ขณะที่ลักษณะสำคัญของสถาปัตยกรรมกรณีศึกษาสุโขทัยและเชียงใหม่มีรากฐานมาจากวัฒนธรรมมอญ และแรงบันดาลใจจากพุกาม ได้แก่ การแยกห้องคูหาพระพุทธรูปประธานที่เปรียบเสมือนกุฏิของพระพุทธเจ้าและเป็นสัญลักษณ์ของโลกุตระ ออกจากวิหารอันเป็นพื้นที่ฟังธรรมของปุถุชนที่เปรียบเสมือนโลกียะ วิหารที่มีห้องคูหาท้ายอาคารทำหน้าที่อย่างธรรมศาลามอญ ซึ่งในอดีตเป็นอาคารประธานของวัดประเภทสังฆาวาสในวัฒนธรรมมอญและพม่า ส่วนคำว่า มณฑป ที่หมายถึง อาคารผังรูปสี่เหลี่ยมมีหลังคาเครื่องยอด อาจได้แรงบันดาลใจจากสถาปัตยกรรมเขมรที่หมายถึงปราสาทขนาดเล็ก เพราะไม่ปรากฏคำนี้ทั้งในภาษา มอญ พม่า ลาว และสิงหล มณฑปอาจแผลงมาจากคำว่า มณฑิร หรือมณเฑียร ขณะเดียวกันศิลปะและสถาปัตยกรรมพุกามอันเป็นศูนย์กลางการศึกษาปริยัติธรรมหนึ่งให้แรงบันดาลใจหลายประการแก่ศิลปสถาปัตยกรรมคัมโปละ
คำสำคัญ: วิหาร มณฑป สุโขทัย เชียงใหม่ พุกาม มอญ คัมโปละ
This book compares the architecture of Buddha shrines in Thailand, Myanmar, and Sri Lanka built during the 14th to 15th centuries when Gampola was the capital of Sri Lanka; Pagan in Upper Burma started to decline; the Mon in Lower Burma became independent; and Sinhalese Buddhism was popular in Sukhothai and Chiang Mai. Buddha shrines studied in Sukhothai and Chiang Mai were chosen from Buddhist temples that had a mondop [square plan architecture surmounted by a pyramidal roof] or a wihan [assembly hall] attached by a Buddha chamber to the rear as the principal architecture of the compound. These temples were located outside Sukhothai’s historic town, while those in Chiang Mai were built during the 18th to 19th centuries both inside and outside the inner town. The study suggests that the art and architecture of Buddha shrines in Gampola, Sri Lanka had south Indian influence, for during this period the politics and Buddhism of Sri Lanka were weak. However, Gampola art and architecture inspired that of Sukhothai, such as ketumala, makara torana, dig-gajah [elephants of the directions], and the bell-shaped pagoda supported by three bands of upside-down lotus mouldings. However, the principal characteristics of wihan studied in Sukhothai and Chiang Mai were based on those of the Mon and some were inspired by Pagan; for example, the separation of the Buddha chamber, a place for the Buddha, to the rear from an assembly hall, a place for commoners to the front; the former was built with brick and symbolized lokuttara [supermundane] while the latter was constructed with wood or wood mixed with brick and signified lokiya [mundane]. A wihan attached by a Buddha chamber to the rear had a role as a dhammasala of the Mon. Previously, a dhammasala of a small Mon and Burmese monastery was likely located at the center as the principal architecture of the compound. The term mondop in Thai was probably inspired by that of the Khmer referring to a small prasat [temple], as the term was not found in Mon, Burmese, Lao, and Sinhalese. Mondop likely derived from the term mandir or mandira. The art and architecture of Pagan, an important center of Buddhist scriptures in Southeast Asia, also inspired that of Gampola.
Keywords: wihan, vihara, mondop, Sukhothai, Chiang Mai, Pagan, Mon, Gampola
E.T. Publishing, 2011
Mon Buddhist monasteries in Moulmein during the nineteenth and early twentieth centuries were bui... more Mon Buddhist monasteries in Moulmein during the nineteenth and early twentieth centuries were built by teak and rice merchants. Earlier Mon monasteries had been built by the monarchy, but Lower Burma lacked royal patronage after it came under British rule in 1826. Moulmein was a center of teak and rice trade and the capital of Lower Burma from 1829 to 1862. Because of trade, Moulmein was prosperous, and wealthy merchants built Buddhist monasteries. This research aims to find the characteristics of the architecture of Mon Buddhist monasteries in Moulmein built during the nineteenth and early twentieth centuries. Although there are several Mon Buddhist monasteries in Thailand, they were built after Thai styles. The study will focus on monasteries in the town of Moulmein and the Kado and the Kawnat villages to its north. Mon Buddhist monasteries in Moulmein share characteristics with Burmese Buddhist monasteries in Upper Burma and Mon houses in Thailand. However, Mon monasteries in Moulmein were often built with brick whereas those of the Burmese were built with wood. Their main entrances or staircases were usually placed to the north, similar to the direction of the entrance of a Mon house in central Thailand. Besides providing architectural characteristics of Mon Buddhist monasteries, this study also relates to the socio-cultural contexts of the areas, such as society, the economy, politics, education, Buddhism, and relations between the kingdoms of Burma and Siam.