Tain Gree | Silpakorn University (original) (raw)

Papers by Tain Gree

Research paper thumbnail of Epigraphs on seals in Southern Thailand: Concrete evidence of the India's earliest contact with Suvarṇabhūmi

The Journal of Language and Culture, 2023

This research article explores the significance of eleven seals and beads inscribed with Maurya B... more This research article explores the significance of eleven seals and beads inscribed with Maurya Brahmi script discovered in the upper regions of southern Thailand. These artifacts, ranging from the 3rd century BCE to the 1st century CE, provide tangible evidence of early contact between India and Southeast Asia or Suvarṇabhūmi at the time. The study examines the origins and provenance of these epigraphs, highlighting their role in tracing the spread of Buddhism through trade routes. Furthermore, it investigates the influence of different castes, particularly the Vaishya and goldsmith castes, in promoting Buddhism and the intriguing presence of Brahmin-related inscriptions. By shedding light on the local artisans' errors and the abundance of uninscribed seals, this article offers insights into the active trade network and cultural exchanges that shaped the region during the earliest period.

Research paper thumbnail of Note on Names of Queen in Ancient Cambodia

Among the countries in Southeast Asia which received Indian culture, Cambodia shows very strong I... more Among the countries in Southeast Asia which received Indian culture, Cambodia shows very strong Indian influence in diverse manner. The unique aspect of this influence is the Sanskrit names. Even the name of the country, Cambodia or Kampuchea in Khmer pronunciation is from the Sanskrit words Kambu+jā equal to Kambujā. It means the land of people who were born from the sage Kambu. We know from K.286, Paksey Camkrong Inscription that the Cambodian held the sage Kambu Svayambhu and the angle Merā as their ancestors.

Research paper thumbnail of จารึกรอยพุทธบาทจากอานธรประเทศ: หลักฐานพุทธศาสนานิกายวิภัชชวาท

วารสารธรรมธารา, 2022

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์จารึกรอยพุทธบาทจากอานธรประเทศ ประเทศอินเดีย อายุราวพุทธ... more บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์จารึกรอยพุทธบาทจากอานธรประเทศ ประเทศอินเดีย อายุราวพุทธศตวรรษที่ 9 ด้วยวิธีการทางจารึกศึกษาโดยพิจารณาถึง อักษร ภาษา วัสดุ สถานที่ และสารัตถะ ผลการศึกษาพบว่า จารึกดังกล่าวจารึกด้วยอักษรพราหมีแบบอินเดียใต้สมัยราชวงศ์วิษณุกุณฑิน เป็นภาษาปรากฤตที่ใกล้เคียงกับภาษาบาลีมาก วัสดุที่จารึกเป็นรอยพุทธบาทคู่ที่แกะสลักจากหินพบที่โบราณสถานที่เป็นมหาวิหารในบริเวณนาครชุนโกณฑะ สารัตถะแสดงถึงหลักฐานพระพุทธศาสนานิกายวิภัชชวาทที่ต่อมาพัฒนาเป็นเถรวาทและแสดงถึงความสัมพันธ์กับสำนักมหาวิหารในประเทศศรีลังกา นอกจากนี้ยังเป็นหลักฐานแสดงถึงเครือข่ายสมณทูตที่ถูกส่งไปในสมัยพระเจ้าอโศก จารึกหลักนี้เป็นหลักฐานทางโบราณคดีที่แสดงถึงพระพุทธศาสนาในดินแดนประเทศไทยที่ปรากฏรอยพุทธบาทคู่และลวดลายศิลปะอมราวดี ที่อำเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี และความทรงจำของพระสงฆ์สมัยสุโขทัยที่เดินทางไปไหว้สถูปอมราวดี ประเทศอินเดีย

Research paper thumbnail of Pa Deang Inscriptions: the Religious Perspective

วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, Dec 31, 2020

Research paper thumbnail of Sanskrit names in cambodian inscriptions

Research paper thumbnail of BOOK 02 สมุดไทยและใบลาน

Research paper thumbnail of ข้อมูลประวัติ อุเทน

Research paper thumbnail of มุ มมองด้ านศาสนาจากจารึ กวั ดป่ าแดง Pa Deang Inscriptions: the Religious Perspective

The Buddhism in Sukhothai period (1238-1438 A.D.) is regularly presented in very positive manner ... more The Buddhism in Sukhothai period (1238-1438 A.D.) is regularly presented in very positive manner as the ideal in Buddhist way. Three inscriptions from Wat Pa Daeng, however, shows the reality of conflict in Buddhism at the time. This conflict leads to the sue in the royal court. This article aims to scrutinize these three inscriptions from Wat Pa Daeng, dated 1406 A.D., to show the customs of Buddhism in Sukhothai period from the reign of Dhammaraja I to Dhammaraja III. The study focuses the arrival of Arannavasi or forest monastery sect from Sri Lanka through Mon state. The venerable Sumana had played very significant role in spreading the Arannavasi practice with the immense support from king Dhammaraja I. The Pa Daeng inscriptions also reveal practice of the convertion, the promotion of chief abbot, the sue to royal court and the way to resolve the case by the king and Sangha. This indicates the seperation of law between Sangha and state. These informations are very usful for the study of history of Buddhism in Thailand as well.

Research paper thumbnail of เบื้องหลัง ชายแปลกหน้าพบ "ชาวเซนติเนล" ประชิดตัว อะไรทำชาวเกาะใจอ่อน?

ไทยรัฐออนไลน์ 29 พ.ย. 2561 08:09 น., 2018

Research paper thumbnail of พบพงศาวดารกรุงเก่า เอกสารล้ำค่าที่ระยอง

ไทยรัฐฉบับพิมพ์ 22 ธ.ค. 2561 05:01 น., 2008

Research paper thumbnail of หนังสือคนไทในอัสสัม ลมหายใจที่ยังเหลืออยู่

ไทยรัฐฉบับพิมพ์ 16 ก.ค. 2561 05:01 น., 2008

Research paper thumbnail of THE FALL OF DVĀRAVATĪ AS MENTIONED IN THE KHMER INSCRIPTION K.1198

Research paper thumbnail of นรกภูมิในไตรภูมิ-พระมาลัย: ความสัมพันธ์กับคัมภีร์สำคัญ ทางพุทธศาสนา

วารสารธรรมธารา, 2020

บทความนี้มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ด้านเนื้อหาเรื่องนรกภูมิในไตรภูมิ-พระมาลัยซึ่งเป็นวรรณกรรมโลกศาสตร์... more บทความนี้มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ด้านเนื้อหาเรื่องนรกภูมิในไตรภูมิ-พระมาลัยซึ่งเป็นวรรณกรรมโลกศาสตร์สมัยอยุธยากับคัมภีร์สำคัญทางพุทธศาสนาที่ปรากฏเนื้อหาเรื่องนรกภูมิ คือ พระไตรปิฎกฉบับต่างๆ คัมภีร์โลกทีปกสาร คัมภีร์โลกบัญญัติและคัมภีร์จักรวาลทีปนี ผลการศึกษาพบว่า ไตรภูมิ-พระมาลัยมีลักษณะของเนื้อหาหลักร่วมกับคัมภีร์สำคัญทางพุทธศาสนา คือ 1) การพรรณนาถึงสภาพของมหานรกและชื่อของมหานรกขุมต่างๆ มีลักษณะของเนื้อหาร่วมกับพระไตรปิฎก เทวทูตสูตร สังกิจจชาดกและคัมภีร์โลกทีปกสาร 2) มหานรกขุมต่างๆ บุพกรรมและการเสวยทุกขเวทนาของสัตว์นรก มีลักษณะของเนื้อหาร่วมกับคัมภีร์โลกทีปกสารและโลกบัญญัติ 3) อุสุทนรก (นรกบ่าว) มีลักษณะของเนื้อหาร่วมกับพระไตรปิฎก เทวทูตสูตร สังกิจจชาดกและคัมภีร์โลกบัญญัติ 4) ยมโลก มีลักษณะของเนื้อหาร่วมกับพระไตรปิฎก เนมิราชชาดก 5) การเปรียบเทียบอายุของสวรรค์ มนุษย์และมหานรก มีลักษณะของเนื้อหาร่วมกับพระไตรปิฎก วิตถตุโปสถสูตร คัมภีร์โลกทีปกสารและจักรวาลทีปนีลักษณะร่วมสำคัญ คือ ชื่อนรก

ลักษณะทางกายภาพของนรก บุพกรรมเมื่อเป็นมนุษย์ของสัตว์นรก ทุกขเวทนาของสัตว์นรก ตลอดจนการเปรียบเทียบอายุของสวรรค์ฉกามาพจร มนุษย์และนรก แต่ต่างกันในรายละเอียดปลีกย่อย ดังนั้นไตรภูมิ-พระมาลัย จึงเป็นวรรณกรรมโลกศาสตร์ที่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนถึงคติทางพุทธศาสนาในสมัยอยุธยาเป็นอย่างยิ่ง

Research paper thumbnail of จารึกเสาแปดเหลี่ยมชัยนาท: จารึกอรรถกถาอภิธรรมที่เก่าที่สุดในประเทศไทย

วารสารธรรมธารา, 2020

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคำอ่าน และการตีความที่มาของเนื้อความภาษาบาลีในจารึกเสาแปดเหลี่ยม... more บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคำอ่าน และการตีความที่มาของเนื้อความภาษาบาลีในจารึกเสาแปดเหลี่ยม จังหวัดชัยนาท ที่จารึกด้วยอักษรปัลลวะ มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งจัดว่าเป็นจารึกของอาณาจักรทวารวดี ด้วยวิธีการศึกษาทางอักขรวิทยาโบราณและการสืบค้นเปรียบเทียบข้อความในพระไตรปิฎกและอรรถกถา
จากผลการอ่าน การตีความใหม่ และจากการเปรียบเทียบข้อความพบว่า ข้อความภาษาบาลีดังกล่าวเป็นคาถาในคัมภีร์สัมโมหวิโนทนี ซึ่งเป็นอรรถกถาอภิธรรมปิฎก วิภังคปกรณ์ ตอนว่าด้วยวรรณนา สุตตันตภาชนียะ คัมภีร์สัมโมหวิโนทนีนี้แต่งขึ้นโดยพระพุทธโฆสาจารย์ในราวปี พ.ศ. 956 ที่ศรีลังกา จารึกเสาแปดเหลี่ยมชัยนาท หลักนี้จึงเป็นหลักฐานข้อความอรรถกถาอภิธรรมปิฎกที่เก่าที่สุดในประเทศไทยและเป็นหลักฐานทางโบราณคดีที่แสดงถึงความสัมพันธ์ทางพุทธศาสนาเถรวาทระหว่างศรีลังกาและทวารวดี

Research paper thumbnail of Sanskrit names in cambodian inscriptions

Research paper thumbnail of พืชสมุนไพรในคัมภีร์จรกสัมหิตา อาจารย์ ดร.อุ เทน วงศ์ สถิ ตย์ ภาควิ ชาภาษาตะวั นออก คณะโบราณคดี มหาวิ ทยาลั ยศิ ลปากร

เป็น presentation นำเสนออย่างย่อที่สุดของงานวิจัยโรคและพืชสมุนไพรในคัมภีร์จรกสัมหิตา

Research paper thumbnail of จารึกวัดจงกอ : หลักฐานใหม่เกี่ยวกับพระเจ้าชยวีรวรมัน

จารึกวัดจงกอเป็นจารึกหลักหนึ่งที่น่าสนใจ เพราะเป็นจารึกหลักเดียวของพระเจ้าชยวีรวรมัน หรือ ชัยวีรว... more จารึกวัดจงกอเป็นจารึกหลักหนึ่งที่น่าสนใจ เพราะเป็นจารึกหลักเดียวของพระเจ้าชยวีรวรมัน หรือ ชัยวีรวรมัน ที่พบในประเทศไทย อีกทั้งตัวจารึกเอกก็ระบุปีศักราชไว้แน่นอน ซึ่งเป็นข้อมูลสําคัญ ในทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับอาณาจักรขอมเมืองพระนคร ในบริเวณพื้นที่แถบที่ราบสูงโคราช

Research paper thumbnail of academic programme of 16th world sanskrit conference

Research paper thumbnail of ตราจักรีที่พระตะบอง ปริศนาร่องรอยสยาม

สกู๊ปหน้าหนึ่งไทยรัฐ ไทยรัฐฉบับพิมพ์ 5 พ.ค. 2558 05:01

Research paper thumbnail of Karaikal Ammaiyar of Chola Empire in Ancient Cambodia

A paper in the Proceeding of International Conference on "Arts & Cultures in Creative Economy". o... more A paper in the Proceeding of International Conference on "Arts & Cultures in Creative Economy". organized by Rambhai Barni Rajabhat University, June 1st-2nd, 2014. p.433-448.

Research paper thumbnail of Epigraphs on seals in Southern Thailand: Concrete evidence of the India's earliest contact with Suvarṇabhūmi

The Journal of Language and Culture, 2023

This research article explores the significance of eleven seals and beads inscribed with Maurya B... more This research article explores the significance of eleven seals and beads inscribed with Maurya Brahmi script discovered in the upper regions of southern Thailand. These artifacts, ranging from the 3rd century BCE to the 1st century CE, provide tangible evidence of early contact between India and Southeast Asia or Suvarṇabhūmi at the time. The study examines the origins and provenance of these epigraphs, highlighting their role in tracing the spread of Buddhism through trade routes. Furthermore, it investigates the influence of different castes, particularly the Vaishya and goldsmith castes, in promoting Buddhism and the intriguing presence of Brahmin-related inscriptions. By shedding light on the local artisans' errors and the abundance of uninscribed seals, this article offers insights into the active trade network and cultural exchanges that shaped the region during the earliest period.

Research paper thumbnail of Note on Names of Queen in Ancient Cambodia

Among the countries in Southeast Asia which received Indian culture, Cambodia shows very strong I... more Among the countries in Southeast Asia which received Indian culture, Cambodia shows very strong Indian influence in diverse manner. The unique aspect of this influence is the Sanskrit names. Even the name of the country, Cambodia or Kampuchea in Khmer pronunciation is from the Sanskrit words Kambu+jā equal to Kambujā. It means the land of people who were born from the sage Kambu. We know from K.286, Paksey Camkrong Inscription that the Cambodian held the sage Kambu Svayambhu and the angle Merā as their ancestors.

Research paper thumbnail of จารึกรอยพุทธบาทจากอานธรประเทศ: หลักฐานพุทธศาสนานิกายวิภัชชวาท

วารสารธรรมธารา, 2022

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์จารึกรอยพุทธบาทจากอานธรประเทศ ประเทศอินเดีย อายุราวพุทธ... more บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์จารึกรอยพุทธบาทจากอานธรประเทศ ประเทศอินเดีย อายุราวพุทธศตวรรษที่ 9 ด้วยวิธีการทางจารึกศึกษาโดยพิจารณาถึง อักษร ภาษา วัสดุ สถานที่ และสารัตถะ ผลการศึกษาพบว่า จารึกดังกล่าวจารึกด้วยอักษรพราหมีแบบอินเดียใต้สมัยราชวงศ์วิษณุกุณฑิน เป็นภาษาปรากฤตที่ใกล้เคียงกับภาษาบาลีมาก วัสดุที่จารึกเป็นรอยพุทธบาทคู่ที่แกะสลักจากหินพบที่โบราณสถานที่เป็นมหาวิหารในบริเวณนาครชุนโกณฑะ สารัตถะแสดงถึงหลักฐานพระพุทธศาสนานิกายวิภัชชวาทที่ต่อมาพัฒนาเป็นเถรวาทและแสดงถึงความสัมพันธ์กับสำนักมหาวิหารในประเทศศรีลังกา นอกจากนี้ยังเป็นหลักฐานแสดงถึงเครือข่ายสมณทูตที่ถูกส่งไปในสมัยพระเจ้าอโศก จารึกหลักนี้เป็นหลักฐานทางโบราณคดีที่แสดงถึงพระพุทธศาสนาในดินแดนประเทศไทยที่ปรากฏรอยพุทธบาทคู่และลวดลายศิลปะอมราวดี ที่อำเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี และความทรงจำของพระสงฆ์สมัยสุโขทัยที่เดินทางไปไหว้สถูปอมราวดี ประเทศอินเดีย

Research paper thumbnail of Pa Deang Inscriptions: the Religious Perspective

วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, Dec 31, 2020

Research paper thumbnail of Sanskrit names in cambodian inscriptions

Research paper thumbnail of BOOK 02 สมุดไทยและใบลาน

Research paper thumbnail of ข้อมูลประวัติ อุเทน

Research paper thumbnail of มุ มมองด้ านศาสนาจากจารึ กวั ดป่ าแดง Pa Deang Inscriptions: the Religious Perspective

The Buddhism in Sukhothai period (1238-1438 A.D.) is regularly presented in very positive manner ... more The Buddhism in Sukhothai period (1238-1438 A.D.) is regularly presented in very positive manner as the ideal in Buddhist way. Three inscriptions from Wat Pa Daeng, however, shows the reality of conflict in Buddhism at the time. This conflict leads to the sue in the royal court. This article aims to scrutinize these three inscriptions from Wat Pa Daeng, dated 1406 A.D., to show the customs of Buddhism in Sukhothai period from the reign of Dhammaraja I to Dhammaraja III. The study focuses the arrival of Arannavasi or forest monastery sect from Sri Lanka through Mon state. The venerable Sumana had played very significant role in spreading the Arannavasi practice with the immense support from king Dhammaraja I. The Pa Daeng inscriptions also reveal practice of the convertion, the promotion of chief abbot, the sue to royal court and the way to resolve the case by the king and Sangha. This indicates the seperation of law between Sangha and state. These informations are very usful for the study of history of Buddhism in Thailand as well.

Research paper thumbnail of เบื้องหลัง ชายแปลกหน้าพบ "ชาวเซนติเนล" ประชิดตัว อะไรทำชาวเกาะใจอ่อน?

ไทยรัฐออนไลน์ 29 พ.ย. 2561 08:09 น., 2018

Research paper thumbnail of พบพงศาวดารกรุงเก่า เอกสารล้ำค่าที่ระยอง

ไทยรัฐฉบับพิมพ์ 22 ธ.ค. 2561 05:01 น., 2008

Research paper thumbnail of หนังสือคนไทในอัสสัม ลมหายใจที่ยังเหลืออยู่

ไทยรัฐฉบับพิมพ์ 16 ก.ค. 2561 05:01 น., 2008

Research paper thumbnail of THE FALL OF DVĀRAVATĪ AS MENTIONED IN THE KHMER INSCRIPTION K.1198

Research paper thumbnail of นรกภูมิในไตรภูมิ-พระมาลัย: ความสัมพันธ์กับคัมภีร์สำคัญ ทางพุทธศาสนา

วารสารธรรมธารา, 2020

บทความนี้มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ด้านเนื้อหาเรื่องนรกภูมิในไตรภูมิ-พระมาลัยซึ่งเป็นวรรณกรรมโลกศาสตร์... more บทความนี้มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ด้านเนื้อหาเรื่องนรกภูมิในไตรภูมิ-พระมาลัยซึ่งเป็นวรรณกรรมโลกศาสตร์สมัยอยุธยากับคัมภีร์สำคัญทางพุทธศาสนาที่ปรากฏเนื้อหาเรื่องนรกภูมิ คือ พระไตรปิฎกฉบับต่างๆ คัมภีร์โลกทีปกสาร คัมภีร์โลกบัญญัติและคัมภีร์จักรวาลทีปนี ผลการศึกษาพบว่า ไตรภูมิ-พระมาลัยมีลักษณะของเนื้อหาหลักร่วมกับคัมภีร์สำคัญทางพุทธศาสนา คือ 1) การพรรณนาถึงสภาพของมหานรกและชื่อของมหานรกขุมต่างๆ มีลักษณะของเนื้อหาร่วมกับพระไตรปิฎก เทวทูตสูตร สังกิจจชาดกและคัมภีร์โลกทีปกสาร 2) มหานรกขุมต่างๆ บุพกรรมและการเสวยทุกขเวทนาของสัตว์นรก มีลักษณะของเนื้อหาร่วมกับคัมภีร์โลกทีปกสารและโลกบัญญัติ 3) อุสุทนรก (นรกบ่าว) มีลักษณะของเนื้อหาร่วมกับพระไตรปิฎก เทวทูตสูตร สังกิจจชาดกและคัมภีร์โลกบัญญัติ 4) ยมโลก มีลักษณะของเนื้อหาร่วมกับพระไตรปิฎก เนมิราชชาดก 5) การเปรียบเทียบอายุของสวรรค์ มนุษย์และมหานรก มีลักษณะของเนื้อหาร่วมกับพระไตรปิฎก วิตถตุโปสถสูตร คัมภีร์โลกทีปกสารและจักรวาลทีปนีลักษณะร่วมสำคัญ คือ ชื่อนรก

ลักษณะทางกายภาพของนรก บุพกรรมเมื่อเป็นมนุษย์ของสัตว์นรก ทุกขเวทนาของสัตว์นรก ตลอดจนการเปรียบเทียบอายุของสวรรค์ฉกามาพจร มนุษย์และนรก แต่ต่างกันในรายละเอียดปลีกย่อย ดังนั้นไตรภูมิ-พระมาลัย จึงเป็นวรรณกรรมโลกศาสตร์ที่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนถึงคติทางพุทธศาสนาในสมัยอยุธยาเป็นอย่างยิ่ง

Research paper thumbnail of จารึกเสาแปดเหลี่ยมชัยนาท: จารึกอรรถกถาอภิธรรมที่เก่าที่สุดในประเทศไทย

วารสารธรรมธารา, 2020

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคำอ่าน และการตีความที่มาของเนื้อความภาษาบาลีในจารึกเสาแปดเหลี่ยม... more บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคำอ่าน และการตีความที่มาของเนื้อความภาษาบาลีในจารึกเสาแปดเหลี่ยม จังหวัดชัยนาท ที่จารึกด้วยอักษรปัลลวะ มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งจัดว่าเป็นจารึกของอาณาจักรทวารวดี ด้วยวิธีการศึกษาทางอักขรวิทยาโบราณและการสืบค้นเปรียบเทียบข้อความในพระไตรปิฎกและอรรถกถา
จากผลการอ่าน การตีความใหม่ และจากการเปรียบเทียบข้อความพบว่า ข้อความภาษาบาลีดังกล่าวเป็นคาถาในคัมภีร์สัมโมหวิโนทนี ซึ่งเป็นอรรถกถาอภิธรรมปิฎก วิภังคปกรณ์ ตอนว่าด้วยวรรณนา สุตตันตภาชนียะ คัมภีร์สัมโมหวิโนทนีนี้แต่งขึ้นโดยพระพุทธโฆสาจารย์ในราวปี พ.ศ. 956 ที่ศรีลังกา จารึกเสาแปดเหลี่ยมชัยนาท หลักนี้จึงเป็นหลักฐานข้อความอรรถกถาอภิธรรมปิฎกที่เก่าที่สุดในประเทศไทยและเป็นหลักฐานทางโบราณคดีที่แสดงถึงความสัมพันธ์ทางพุทธศาสนาเถรวาทระหว่างศรีลังกาและทวารวดี

Research paper thumbnail of Sanskrit names in cambodian inscriptions

Research paper thumbnail of พืชสมุนไพรในคัมภีร์จรกสัมหิตา อาจารย์ ดร.อุ เทน วงศ์ สถิ ตย์ ภาควิ ชาภาษาตะวั นออก คณะโบราณคดี มหาวิ ทยาลั ยศิ ลปากร

เป็น presentation นำเสนออย่างย่อที่สุดของงานวิจัยโรคและพืชสมุนไพรในคัมภีร์จรกสัมหิตา

Research paper thumbnail of จารึกวัดจงกอ : หลักฐานใหม่เกี่ยวกับพระเจ้าชยวีรวรมัน

จารึกวัดจงกอเป็นจารึกหลักหนึ่งที่น่าสนใจ เพราะเป็นจารึกหลักเดียวของพระเจ้าชยวีรวรมัน หรือ ชัยวีรว... more จารึกวัดจงกอเป็นจารึกหลักหนึ่งที่น่าสนใจ เพราะเป็นจารึกหลักเดียวของพระเจ้าชยวีรวรมัน หรือ ชัยวีรวรมัน ที่พบในประเทศไทย อีกทั้งตัวจารึกเอกก็ระบุปีศักราชไว้แน่นอน ซึ่งเป็นข้อมูลสําคัญ ในทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับอาณาจักรขอมเมืองพระนคร ในบริเวณพื้นที่แถบที่ราบสูงโคราช

Research paper thumbnail of academic programme of 16th world sanskrit conference

Research paper thumbnail of ตราจักรีที่พระตะบอง ปริศนาร่องรอยสยาม

สกู๊ปหน้าหนึ่งไทยรัฐ ไทยรัฐฉบับพิมพ์ 5 พ.ค. 2558 05:01

Research paper thumbnail of Karaikal Ammaiyar of Chola Empire in Ancient Cambodia

A paper in the Proceeding of International Conference on "Arts & Cultures in Creative Economy". o... more A paper in the Proceeding of International Conference on "Arts & Cultures in Creative Economy". organized by Rambhai Barni Rajabhat University, June 1st-2nd, 2014. p.433-448.

Research paper thumbnail of “เซนติเนล” 6 หมื่นปีไม่มีใครเหยียบ คนสยามผ่านประจำ ทำไมพ้นมือนักล่าอาณานิคม

ไทยรัฐออนไลน์ 27 พ.ย. 2561 08:01 น., 2018

Research paper thumbnail of คนรับจ้างลอยอังคาร ส่งวิญญาณไปสวรรค์.pdf

สกู๊ปหน้า 1 นสพ.ไทยรัฐ ฉบับวันที่ 28 มกราคม 2560

Research paper thumbnail of ข้อมูลประวัติ อุเทน

Research paper thumbnail of รายงานการวิจัย "การศึกษาเอกสารตัวเขียนของไทพ่าเก"

ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2018

งานวิจัยชิ้นนี้ มีจุดประสงค์ในการเก็บข้อมูลจากพื้นที่ด้วยวิธีสังเกตอย่างมีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์ ... more งานวิจัยชิ้นนี้ มีจุดประสงค์ในการเก็บข้อมูลจากพื้นที่ด้วยวิธีสังเกตอย่างมีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์ เพื่อสำรวจรวบรวมรายชื่อเอกสารตัวเขียนของไทพ่าเก ซึ่งจากการวิจัยพบว่า คนไทพ่าเกมีอัตลักษณะทางวัฒนธรรมที่มีลักษณะดั้งเดิมเป็นมรดกติดตัวคนไทมาด้วยเมื่อย้ายถิ่นฐานไปยังลุ่มน้ำพรหมบุตรในรัฐอัสสัมมี 4 ประการ คือ 1.) อัตลักษณ์ด้านประวัติศาสตร์ 2.) อัตลักษณ์ด้านวัตนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต 3.) อัตลักษณ์ด้านความเชื่อของคนไทพ่าเก 4.) อัตลักษณ์ด้านภาษา โดยอัตลักษณ์ด้านภาษามีบทบาทอย่างมากในการดำรงวัฒนธรรมของไทพ่า ก่อให้เกิดเอกสารตัวเขียนจำนวนมาก ดังนั้นประเพณีเกี่ยวกับเอกสารตัวเขียน ที่เป็นปัจจัยในการอนุรักษ์เอกสารตัวเขียนของไทพ่าเก คือ ประเพณีลูลิก และประเพณีแต้มลิก ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญให้เกิดการผลิตซ้ำเอกสารตัวเขียนของไทพ่าเก โดยมีการปรับใช้เทคโนโลยี เช่น การถ่ายเอกสาร และคอมพิวเตอร์ มารับใช้คติความเชื่อ ทำให้สะดวกมากขึ้น

Research paper thumbnail of รายงานการวิจัย "การศึกษาวิเคราะห์โรคและพืชสมุนไพรในคัมภีร์จรกสัมหิตา"

ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2015

การศึกษาพบว่า คัมภีร์จรกสัมหิตาน่าจะถูกแต่งขึ้นในราวต้นคริสตกาลจนถึงประมาณศตวรรษที่ 6 การจำแนกหรื... more การศึกษาพบว่า คัมภีร์จรกสัมหิตาน่าจะถูกแต่งขึ้นในราวต้นคริสตกาลจนถึงประมาณศตวรรษที่ 6 การจำแนกหรือการจัดหมวดหมู่ ในคัมภีร์จรกสัมหิตาเรียกว่า วิภาควิทยา (วิภาควิทฺยา) เป็นจุดเด่นสำคัญประการหนึ่งของคัมภีร์จรกสัมหิตาซึ่งส่งต่อให้กับคัมภีร์อายุรเวทอื่นๆ ในภายหลัง สิ่งต่างๆ รวมถึงปรากฏการณ์ต่างๆ ได้ถูกจำแนกออกอย่างเป็นระบบ เช่น การจำแนกสาขาของอายุรเวทเป็น 8 สาขา การจำแนก ทฺรวฺย คือ สารสำคัญ เป็น 3 ประเภท ซึ่งตรงกับหลักเภสัชวัตถุของแพทย์แผนไทยที่แบ่งเป็น 3 เหมือนกันคือ พืชวัตถุ สัตววัตถุ และธาตุวัตถุ โรคในคัมภีร์จรกสัมหิตา แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ โรคที่มีการจัดหมวดหมู่ และโรคที่ปรากฏเดี่ยวๆ ไม่มีการจัดหมวดหมู่ โรคที่มีการจัดหมวดหมู่นั้นมีทั้งหมด 8 หมวด รวม 64 ชนิด โรคที่ปรากฏเดี่ยวๆ ไม่มีการจัดหมวดหมู่ มีทั้งหมด 141 ชนิด รวมโรคทั้งหมดที่ปรากฏในคัมภีร์จรกสัมหิตามี 205 ชนิด การศึกษาวิเคราะห์พบพืชสมุนไพรทั้งหมดมี 336 ชนิด พบพืชสมุนไพรที่มีชื่อภาษาไทยมีจำนวน 232 ชนิด ยังไม่พบชื่อในภาษาไทยจำนวน 104 ชนิด เปรียบเทียบพบสมุนไพรที่นิยมใช้ในประเทศไทย 44 ชนิด และพบการใช้ในตำราแพทย์แผนไทยทั้งหมด 82 ชนิดนั้น พืชสมุนไพรที่พบมากที่สุดในตำรับยาแพทย์แผนไทย 5 ลำดับ คือ 1. พริกไทย 2. แห้วหมู 3. ชะเอมเทศ 4. อบเชยต้น 5. สะเดา นอกจากนี้ยังพบความเหมือนและความต่างในการใช้พืชสมุนไพรในคัมภีร์จรกสัมหิตากับตำราแพทย์แผนไทย สมุนไพรที่ใช้ส่วนใหญ่มักมีสรรพคุณเป็นไปในแนวทางเดียวกัน คัมภีร์จรกสัมหิตาซึ่งส่วนหนึ่งแต่งเป็นโศลกร้อยกรองให้รายละเอียดในทางสรรพคุณได้น้อยกว่าตำราแพทย์แผนไทยที่ส่วนใหญ่แต่งเป็นร้อยแก้วซึ่งเหมาะแก่การพรรณนามากกว่า ในด้านการประกอบยาจะพบว่าคัมภีร์จรกสัมหิตามีการใช้เป็นยาเดี่ยวจำนวนมาก แต่ตำราแพทย์แผนไทยนิยมใช้เป็นยาตำรับ ส่วนการใช้ส่วนต่าง ๆ ของพืชสมุนไพรนัเนพบว่า แพทย์แผนไทยมีการใช้ส่วนต่าง ๆ ที่หลากหลายมากกว่าในคัมภีร์จรกสัมหิตา อาจเป็นเพราะยุคสมัยที่ต่างกันนับพันปี

The study shows that the Caraka Saṃhitā was composed around 1st century upto 6th century. The content of text was divided into several segments called Vibhāgavidya. This division gives fundamental idea to the later Ayurvedic texts. The systematic grouping of branches, parts of human body, desises, medicines etc. is described in the text. This plays important role in developing the Ayurvedic studies. Fundamental idea such as 8 branches of Ayurveda, Dravya or substances of medicine was followed by later Ayurvedic texts. It is interesting to note that the division of medicine substances into 3 groups i.e. Plants, Animals and Minerals is the same as in Thai traditional medicine. Diseases in Caraka Saṃhitā can be divied in to two types i.e. grouping and ungrouping. The groupting diseases are 64 in 8 groups. The ungrouping deseases are 205. In total 205 diseases are found in Caraka Saṃhitā. The study shows 336 medicinal plants discovered in Caraka Saṃhitā, out of which 232 have Thai names and 104 are not available in Thai. Among those herbal plants, 82 are regularly engaged in Thai traditional medicine. The top 5 herbs frequently found in Thai traditional medicine are namely; 1) Black pepper 2) Nut grass 3) Liquorice 4) Cinnamon and 5) Margosa tree. It is noteworthy here that there are both similarity and difference between the therapies of herbal plants in Caraka Saṃhitā and in Thai traditional medicine. In the term of similarity, most of herbal plants are used in the same manners. Caraka Saṃhitā, which was composed partly in verses, provides lesser details of herbal properties than Thai traditional medicine texts, which was in proses. In the term of differences, the therapy in Caraka Saṃhitā is mostly Mono-herbal. On the contrary, the Multi-herbal therapy is prevalent in Thai traditional medicine texts. According to Thai traditional medicine all parts of herbal plants are utilized, not like that in Caraka Samhita, in which only some parts are used. It is likely due to the difference of periods, i.e. nearly millennium of years.