Pinayo Prommuang - Academia.edu (original) (raw)

Uploads

Papers by Pinayo Prommuang

Research paper thumbnail of Global and New Thai Ways in the Modern Era and the Application of the Sufficiency Economy

บทความนี้กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยจากสังคมเกษตรกรรมไปสู่สังคมอุตสาหกรรม ที่ได้รับอิทธิพลจ... more บทความนี้กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยจากสังคมเกษตรกรรมไปสู่สังคมอุตสาหกรรม ที่ได้รับอิทธิพลจากการพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยี สังคมไทยในอดีตมีลักษณะเป็นสังคมที่เน้นการพึ่งพาตนเองและมีวิถีชีวิตที่เรียบง่ายและสมดุลกับธรรมชาติ แต่ในปัจจุบันเกิดการปรับตัวจากสังคมเกษตรกรรมไปสู่สังคมอุตสาหกรรม โดยมุ่งเน้นการผลิตเพื่อการค้าและการใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การศึกษาและการพัฒนาทักษะใหม่ๆ จึงมีบทบาทสำคัญในการเตรียมคนให้พร้อมสำหรับโลกยุคใหม่ นอกจากนี้บทความยังเชื่อมโยงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่เน้นการพัฒนาอย่างสมดุลและยั่งยืน ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยการดำเนินชีวิตที่พอประมาณและการเตรียมพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น ในระดับโลก บทความยังกล่าวถึงความเปลี่ยนแปลงในด้านเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษาในระดับโลก รวมถึงการลดความยากจน การพัฒนาเทคโนโลยี และการส่งเสริมเสรีภาพทางการเมือง ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างสังคมที่ยั่งยืน บทความเสนอแนวทางในการจัดการเรียนการสอนที่สามารถเชื่อมโยงวิถีไทย วิถีโลก และเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองและสังคมได้อย่างยั่งยืนในอนาคต

This article discusses the transformation of Thai society from an agrarian to an industrial society, influenced by economic and technological development. In the past, Thai society was characterized by self-reliance, with a simple and balanced way of life in harmony with nature. However, in the present, there has been a shift from an agrarian society to an industrial one, focusing on production for trade and the use of technology to enhance efficiency. Education and the development of new skills play a crucial role in preparing individuals for the modern world. Additionally, the article connects the concept of Sufficiency Economy as introduced by King Bhumibol Adulyadej, which emphasizes balanced and sustainable development in economic, social, and environmental spheres. It advocates a moderate way of life and preparedness for potential changes. On a global scale, the article also addresses changes in the economy, society, and education, including poverty reduction, technological advancement, and the promotion of political freedom, which are key factors in creating a sustainable society. The article proposes a teaching approach that integrates Thai ways of life, global perspectives, and the philosophy of Sufficiency Economy, enabling students to develop themselves and contribute to a sustainable society in the future.

Research paper thumbnail of teacher and Sufficiency economy

he Sufficiency Economy Philosophy (SEP), introduced by King Bhumibol Adulyadej of Thailand, promo... more he Sufficiency Economy Philosophy (SEP), introduced by King Bhumibol Adulyadej of Thailand, promotes balanced and sustainable development rooted in moderation, reasonableness, and self-immunity. Teachers play a critical role in fostering SEP values within students, shaping mindsets that align with sustainable practices and lifelong resilience.

Research paper thumbnail of Research Synthesis on Classroom Climate by Using Atlas.ti Program

วารสารสิรินธรปริทรรศน์, 2023

This article was the documentary research. Its objective was to synthesis researches on classroom... more This article was the documentary research. Its objective was to synthesis researches on classroom climate published in Thai Journal Online (Thaijo) database. The criterions of selecting research were that research articles were published in Thaijo and published within 11 years (2008-2018) concerning classroom climate. There were 29 research papers according to the criterions. A research synthesis applied domain analysis with the use of ATLAS.ti 7.0 program. The results from research synthesis about the classroom climate consisted of 6 components: warm interaction, parents' expectation, self-esteem, learning style, classroom environment, and learning schedule. Classroom climate was causal factor to learning achievement motivation, thinking skill, and desired characteristics. Classroom climate had direct effect to teaching efficiency and life skill.

Research paper thumbnail of Analysis of the Quality of Test

การหาคุณภาพของแบบทดสอบปรนัย

Research paper thumbnail of The Analysis of an Essay Exam

Research paper thumbnail of Conducting a Thesis Using Artificial Intelligence Program

The objective of this academic article is to present guidelines for conducting research using art... more The objective of this academic article is to present guidelines for conducting research using artificial intelligence programs, specifically Chat GTP. These guidelines include searching for topics of interest to researchers from renowned academics both domestically and internationally, defining terms, and creating questionnaires. To ensure effective use of the artificial intelligence program, the guidelines include providing knowledge, searching information to allow the program to learn data, reviewing knowledge to ensure understanding, and verifying data from original documents.

Research paper thumbnail of research tools

การหาคุณภาพของเครื่องมือการวิจัย ในบทความนี้ ขอนำเสนอ การหาความยาก ค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบรายข้อ ก... more การหาคุณภาพของเครื่องมือการวิจัย ในบทความนี้ ขอนำเสนอ การหาความยาก ค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบรายข้อ การหาคุณของแบบทดสอบทั้งฉบับด้วย KR-20 และการหาความความเชื่อมั่นของแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่าด้วยวิธิ Cronbach โดยใช้โปรแกรม Excel และ SPSS

Research paper thumbnail of The Application of Self-Learning Technique in Terms of Writing Articles to the Development of Learning Achievement in Kalasin Buddhist Academic College, Mahamakut Buddhist University

The objectives of this classroom research were to compare the learning achievement, to study lear... more The objectives of this classroom research were to compare the learning achievement, to study learning behaviors, and learning satisfaction with the application of self-learning technique in terms of writing articles. The target group was 17 students of the 3 rd year in Thai Teaching Buddhism Field. The research was pre-experimental research as One Shot Case Design, conducted 3 hours for 4 times. The research instruments were Learning Achievement Test, Learning Satisfaction Form, and Learning Behaviors Observation Form. The data were analyzed by means of frequency, mean, standard deviation, and content analysis. The results of research were found that students’ learning achievement were high, their learning satisfaction at the highest level. Their learning behaviors were found they did not study lessons before attending the class and also did not present their papers as assigned. However, they could submit their papers as assigned.

Research paper thumbnail of Classroom research

การวิจัยในชั้นเรียนเป็นแนวทางการดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อแก้ไขปัญหาหรือจัดกิจก... more การวิจัยในชั้นเรียนเป็นแนวทางการดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อแก้ไขปัญหาหรือจัดกิจกรรมนักเรียนที่มีปัญหาการเรียนการสอนที่เหมาะสมสำหรับนักเรียน และนำผลการวิจัยมาปรับปรุงคุณภาพการเรียนรู้ของนักเรียนให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพมากกว่าเดิม

Research paper thumbnail of Classroom research

การวิจัยในชั้นเรียนเป็นแนวทางการดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อแก้ไขปัญหาหรือจัดกิจก... more การวิจัยในชั้นเรียนเป็นแนวทางการดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อแก้ไขปัญหาหรือจัดกิจกรรมนักเรียนที่มีปัญหาการเรียนการสอนที่เหมาะสมสำหรับนักเรียน และนำผลการวิจัยมาปรับปรุงคุณภาพการเรียนรู้ของนักเรียนให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพมากกว่าเดิม

Research paper thumbnail of The Application of Self-Learning Technique in Terms of Writing Articles to the Development of Learning Achievement in Kalasin Buddhist Academic College, Mahamakut Buddhist University

The objectives of this classroom research were to compare the learning achievement, to study lear... more The objectives of this classroom research were to compare the learning achievement, to study learning behaviors, and learning satisfaction with the application of self-learning technique in terms of writing articles. The target group was 17 students of the 3 rd year in Thai Teaching Buddhism Field. The research was pre-experimental research as One Shot Case Design, conducted 3 hours for 4 times. The research instruments were Learning Achievement Test, Learning Satisfaction Form, and Learning Behaviors Observation Form. The data were analyzed by means of frequency, mean, standard deviation, and content analysis. The results of research were found that students’ learning achievement were high, their learning satisfaction at the highest level. Their learning behaviors were found they did not study lessons before attending the class and also did not present their papers as assigned. However, they could submit their papers as assigned.

Research paper thumbnail of Definition, Components, and Types of Curriculum

#นิยาม #ความหมาย #และองค์ประกอบของหลักสูตร ... หลักสูตรมีนิยามไว้หลากหลาย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบริบท... more #นิยาม #ความหมาย #และองค์ประกอบของหลักสูตร
...
หลักสูตรมีนิยามไว้หลากหลาย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบริบทของการพัฒนาหลักสูตร หลักสูตรหนึ่งๆ จะประกอบด้วยองค์ประกอบที่สำคัญอยู่ 4 องค์ประกอบ คือ จุดประสงค์ เนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู้ และการวัดประเมินผล จากอดีตจนถึงปัจจุบันหลักสูตรได้พัฒนาขึ้นตามลำดับ ลักษณะของหลักสูตรต่างๆ จึงเกิดขึ้น เรียกว่า ประเภทของหลักสูตร ซึ่งมีอยู่ 7 ประเภท ได้แก่ หลักสูตรเนื้อหาวิชา หลักสูตรหมวดวิชา . และหลักสูตรหมวดวิชาแบบกว้าง หลักสูตรสัมพันธ์ หลักสูตรแกนกลาง หลักสูตรประสบการณ์ หลักสูตรบูรณาการ ทั้ง 3 หัวข้อที่กล่าวมานี้ มีความสัมพันธ์กัน ฉะนั้น นักศึกษาจะต้องทำความเข้าจะต้องศึกษาและทำความเข้าใจในแต่ละหัวข้อ เพื่อจะนำไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรได้

Research paper thumbnail of Way of Academic Article Writing by using ATLAS.ti Program

The purpose of this article is to present a way of academic article writing by using ATLAS.ti pro... more The purpose of this article is to present a way of academic article writing by using ATLAS.ti program. There are two topics: steps of an academic writing and usage of ATLAS.ti to writing an academic writing. The components of academic article consists of three parts: introduction, content, and conclusion that are written coherently with one paragraph and another paragraphs, as well as, are presented details in the same direction or unity. This will help readers see the relationship of information and get an answer for their reference or increasing wisdom. Before author will reach to this stage, the author will have a total concept of his/her writing that he/she gets from many reading articles and make a conclusion. Presently, there is an ATLAS.ti program that can help author write quickly and present a concept brightly graining from many readings in a short time. Therefore, writing an article will have relationship and unity.

บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อนำเสนอแนวทางในการเขียนบทความวิชาการโดยใช้โปรแกรม ATLAS.ti นำเสนอสาระสำคัญ 2 ประเด็น คือ ขั้นตอนในการเขียนบทความวิชาการ และการใช้โปรแกรม ATLAS.ti สำหรับการเขียนบทความวิชาการ องค์ประกอบที่สำคัญของบทความวิชาการมี 3 ส่วน คือ บทนำ เนื้อหา และบทสรุป ซึ่งทั้งสามส่วนนี้ จะต้องเขียนร้อยเรียงให้มีสัมพันธภาพระหว่างย่อหน้า และมีเอกภาพ คือ มีทิศทางในการนำเสนอข้อมูลเดียว จะทำให้ผู้อ่านอ่านแล้วเห็นความสัมพันธ์และได้คำตอบที่เป็นประโยชน์ที่จะนำไปใช้ในการอ้างอิง หรือประโยชน์ในการสร้างสรรค์สติปัญญาได้ ซึ่งการที่ผู้เขียนจะนำเสนอข้อมูลในลักษณะนี้ได้ ผู้เขียนจะต้องมีมโนทัศน์ในการนำเสนอข้อมูลในใจเป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยในการมีมโนทัศน์นั้นจะเกิดขึ้นได้ต้องมาจากการอ่านบทความวิชาการหรือบทความวิจัยหลายๆ เรื่อง จากนั้นจึงประมวลเป็นคำตอบ ซึ่งในปัจจุบันนี้มีโปรแกรม ATLAS.ti ที่สามารถช่วยให้ผู้เขียนได้รวดเร็ว และมีมโนทัศน์ในการนำเสนอกว้างยิ่งขึ้น จากการอ่านบทความที่มากมายในเวลาอันสั้น ฉะนั้น การเขียนบทความของผู้เขียนจะมีสัมพันธภาพและเอกภาพ

Research paper thumbnail of Inclusive Education Management

การที่จะจัดการศึกษาแบบเรียนรวมให้สาเร็จ ครูจะต้องยอมรับนักเรียน การปรับห้องเรียน หลักสูตร และกิจก... more การที่จะจัดการศึกษาแบบเรียนรวมให้สาเร็จ ครูจะต้องยอมรับนักเรียน การปรับห้องเรียน หลักสูตร และกิจกรรมการสอนให้นักเรียนบรรลุเป้าหมาทางวิชาการ พฤติกรรมกรรม และความต้องการของสังคม นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษจะสามารถเรียนอย่างมีความสุขในการเรียนและพวกเขาจะได้รับความเป็นธรรมมากขึ้นในด้านของความเสมอภาค ในบทความนี้เป็นการกล่าวถึงความเป็นมาของวิวัฒนาการของการเรียนรู้แบบเรียนรวม แนวทางการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม และลักษณ์การจัดการเรียนรู้แบบเรียนรวม

Research paper thumbnail of Characteristics of Teachers on Professional Ethics of Master Degree Students

Sikkha , 2019

The objectives of this research paper were to study and compare characteristics of teachers on pr... more The objectives of this research paper were to study and compare characteristics of teachers on professional ethics of Graduate Students. The samples were 91 directors and teacher mentors, master degree graduates and school students in semester 1 of the academic year 2018. The research instrument was the questionnaire. Statistics to be used in this research consisted of percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research findings revealed that characteristics of teachers on professional ethics of Graduate students were at the high level in the overall picture. A comparison of characteristics of teachers on professional ethics of Graduate Students revealed that sex of respondents had not statistically significant differences in the overall picture.

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบคุณลักษณะของครูตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูของนักศึกษาระดับมหาบัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยง นักศึกษา และนักเรียน จำนวน 91 คน ภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2561 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า ในภาพรวมนักศึกษาของมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุลมีคุณลักษณะของครูตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูอยู่ในระดับมาก ผลการเปรียบเทียบจรรยาบรรณวิชาชีพครู พบว่า ในภาพรวมปัจจัยทางด้านเพศ มีความคิดเห็นต่อคุณลักษณะของครูตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูของนักศึกษา แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ

Research paper thumbnail of Research Synthesis on Teacher Spirituality during 2008-2018  by Using ATLAS.ti

งานวิจัยนี้เป็นการสังเคราะห์งานวิจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างข้อสรุปจากการสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ย... more งานวิจัยนี้เป็นการสังเคราะห์งานวิจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างข้อสรุปจากการสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับจิตวิญญาณความเป็นครู กำหนดเกณฑ์การคัดเลือกงานวิจัย คือ เป็นงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในฐานข้อมูล Thai Journal Online (Thaijo) และเผยแพร่ภายในระยะเวลา 10 ปี คือ ระหว่างปี พ.ศ. 2557-2561 ได้งานวิจัยที่นำมาวิเคราะห์ จำนวน 9 เรื่อง การสังเคราะห์งานวิจัยใช้เทคนิคการวิเคราะห์คำหลักโดยใช้โปรแกรม Atlas.ti ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัย พบว่า จิตวิญญาณครู ประกอบด้วย 8 องค์ประกอบ คือ มีคุณธรรมจริยธรรม รักและศรัทธาในวิชาชีพ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ มีจิตวิทยาในการสอน พัฒนาตนเอง มีครูตัวแบบจิตวิญญาณความเป็นครู และมีความสุขกับการทำงาน จิตวิญญาณความเป็นครูเป็นส่วนประกอบย่อยของคุณลักษณะครูในศตวรรษที่ 21 และการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน นอกจากนี้ จิตวิญญาณความเป็นครูมีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง แรงจูงใจในการทำงาน ความทุ่มเทในการทำงาน ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ และความก้าวหน้าในการทำงาน

ABSTRACT
This article was research synthesis. Its objective was to draw conclusion from synthesizing of researches on teacher spirituality. The criterions of selecting research were that research articles were published in Thai Journal Online (Thaijo) and published within 10 years (2008-2018). There were 9 research papers according to the criterions. A research synthesis applied domain analysis with the use of Atlas.ti program. The results of research found that teacher spirituality consisted of 8 components: morality and ethics, love and belief in profession, friendship, taking responsibility on duties, teaching psychology, self-development, having good role of teacher spirituality, and happy working. Teacher spirituality was sub-component of the characteristics for the 21st century teacher and learning management of teacher. Besides, teacher spirituality had a positive relation with transformational leadership, working motivation, job involvement, professional learning community, career advancement.

Research paper thumbnail of How to write article by using ATLAS.ti Program

บทบาทสำคัญของนักวิชาการคือการเผยแพร่ความรู้ ซึ่งทำได้หลายรูปแบบ เช่น การพูด การแสดง การสาธิต การอ... more บทบาทสำคัญของนักวิชาการคือการเผยแพร่ความรู้ ซึ่งทำได้หลายรูปแบบ เช่น การพูด การแสดง การสาธิต การออกแบบ การสร้างหรือการเขียน โดยการเผยแพร่ความรู้ด้วยการเขียนจะมีผลกระทบในระดับกว้างมากที่สุด มีความคงทน ซึ่งรูปแบบการเขียนนั้นมักจะนำเสนอในรูปแบบของบทความวิชาการ และบทความวิจัย ในที่นี้จะกล่าวถึงการเขียนบทความวิชาการ ซึ่งบทความวิชาการที่ดีนั้น คือ ความเรียงที่เขียนขั้นเพื่อเสนอสาระจากข้อมูลที่ถูกต้องและเสนอความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน มีเนื้อหาและวิธีการนำเสนอที่เหมาะสมตามกาลสมัย เหมาะกับกลุ่มผู้อ่าน เป้าหมายของการเขียนบทความคือเสนอเรื่องราวต่างๆ ที่คนทั่วไปไม่รู้ หรือเสนอความคิดบางอย่างที่คนไม่คิดถึง ซึ่งในการนำเสนอแต่ละครั้งควรนำเสนอในประเด็นเดียว ซึ่งในการเขียนบทความจะเป็นการนำเสนอข้อมูล และแนวคิดแก่ผู้อ่านนั้น ผู้อ่านจะคล้อยตามหรือไม่นั้น จะขึ้นอยู่กับความน่าเชื่อถือของข้อมูล แนวคิดและเหตุผล เทคนิควิธีการในการนำเสนอ และความเชื่อมั่นของผู้อ่านต่อผู้เขียน ในปัจจุบันนี้มีโปรแกรมเชิงคุณภาพที่พัฒนาขึ้นมาหลายโปรแกรม ซึ่งโปรแกรม ATLAS.ti เป็นโปรแกรมที่ช่วยให้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพที่ใช้งานได้ง่าย และสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการเขียนบทความได้เป็นอย่างดี ฉะนั้น ในบทความนี้จะเสนอขั้นตอนในการเขียนบทความวิชาการ พร้อมกับนำเสนอการประยุกต์ใช่โปรแกรม ATLAS.ti มาใช้ในการเขียนบทความด้วยในตอนท้าย

Research paper thumbnail of The Development of Innovative Thinking by Integrating of Project Design and Mind Mapping for Undergraduates Granted Scholarships from Thai City Electric Company

สิกขา วารสารศึกษาศาสตร์ , 2019

The objectives of research paper were to study the innovative thinking and comparing of innovativ... more The objectives of research paper were to study the innovative thinking and comparing of innovative thinking. This research is a pre-experimental research. The sample was 100 students who are granted a scholarship from the Thai City Electric Company all over Thailand. There were 10 hours of conducting an activity of integration of project design-mind mapping. The research instrument consisted of test with 10 items of question containing the difficulty index ranged between. 1 8-. 9 6 and innovative thinking questionnaire with 10 items of question containing item reliability ranged between .411-.719 and with total

Research paper thumbnail of General Classroom Management

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2545 มาตรา 6 ได้กำหนดจุดมุ่งหมายทั่วไปของการจัดการศึกษาและเป็นอุดม... more พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2545 มาตรา 6 ได้กำหนดจุดมุ่งหมายทั่วไปของการจัดการศึกษาและเป็นอุดมการณ์ของการศึกษาหรือปรัชญาการศึกษาที่มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม วัฒนธรรมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่มีความสมดุลระหว่างบุคคลและส่วนรวม อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยได้มีการปฏิรูปการศึกษาเกือบ 2 ทศวรรษ คือ ตั้งแต่ พ.ศ. 2542 หลายๆ ด้าน โดยมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญ คือ การพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ แต่ผลการวิจัยยังพบว่า คุณภาพการศึกษาของนักเรียนยังไม่เป็นที่น่าพอใจของหลายๆ ฝ่าย งานวิจัยของปรียาภรณ์ ตังคุณานันต์ (2557 อ้างถึงใน ณิรดา เวชญาลักษณ์, 2559: 12) กล่าวถึงผลการปฏิรูปการศึกษาไว้ว่า การปฏิรูปการศึกษาดังกล่าวมีสิ่งที่ไม่ประสบผลสำเร็จ เช่น คุณภาพผู้เรียน ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ขาดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทั้งการคิด วิเคราะห์ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนและคุณธรรม จริยธรรม นอกจากนั้นการจัดการศึกษาของประเทศไทยในทุกระดับยังพบกับปัญหาเด็กออกกลางคัน ซึ่งปัญหาดังกล่าว นักวิจัยเห็นพ้องต้องกันว่าบรรยากาศการเรียนและสภาพการจัดการชั้นเรียนส่งผลโดยตรงต่อผลสัมฤทธิ์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และการคงอยู่ในชั้นเรียนของผู้เรียน และมีงานวิจัยอีกหลายเรื่องที่พบว่า บรรยากาศในชั้นเรียนส่งผลต่อคุณภาพการเรียนของผู้เรียน เช่น ในปี พ.ศ. 2536 Chickering and Reisser (อ้างถึงใน ศิริพร ครุฑกาศ, 2561: 128) กล่าวว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนานิสิตนักศึกษานั้น ได้แก่ สภาพความเป็นอยู่สิ่งแวดล้อมกลุ่มเพื่อน สัมพันธภาพกับอาจารย์และการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ในสถาบัน ต่อมาปี พ.ศ. 2547, 2550, และ 2553 Brand et al., Chow และ Eliot et al. (อ้างถึงใน อัชฌา ชื่นบุญ และชุติมา แสงดารารัตน์, 2559: 193) มีแนวคิดเห็นไปในทิศทางเดียวกันว่า ความมุ่งมั่นในการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ขึ้นอยู่กับบรรยากาศในการเรียน ซึ่งยังมีผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาและเป็นตัวแปรที่สำคัญในการทำนายความสำเร็จทางวิชาการของมนุษย์ และในปี พ.ศ. 2561 นี้ ศิริพร ครุฑกาศและคณะ (2561: 126) ได้วิจัยสภาพแวดล้อมต่อการพัฒนาตนเองของนักศึกษามีผลการวิจัยตรงกับข้อสรุปในต่างประเทศ คือ ปัจจัยสภาพแวดล้อม ได้แก่ วิธีการสอนของอาจารย์บรรยากาศในชั้นเรียน ระเบียบวินัยในชั้นเรียน สัมพันธภาพกับอาจารย์การเข้าร่วมกิจกรรม สัมพันธภาพกับเพื่อน และสภาพแวดล้อมทางกายภาพมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการพัฒนาตนเองของนักศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) โดยวิธีการสอนของอาจารย์ระเบียบวินัยในชั้นเรียน สัมพันธภาพกับอาจารย์การเข้าร่วมกิจกรรม และสัมพันธภาพกับเพื่อนสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาตนเองของนักศึกษาได้ร้อยละ 49.30 จากงานวิจัยล่าสุดนี้จะเห็นได้ว่า มีตัวแปรหลายตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับบรรยากาศในชั้นเรียน ในบทความนี้เป็นการรวบรวมแนวคิดของการจัดการจัดชั้นเรียนทั่วไป เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

Research paper thumbnail of Building of Classroom Climate

หากจะสันนิษฐานว่าบรรยากาศในชั้นเรียนเป็นตัวแปรที่สำคัญในการพัฒนาผู้เรียนก็คงไม่ผิด เพราะได้มีการศ... more หากจะสันนิษฐานว่าบรรยากาศในชั้นเรียนเป็นตัวแปรที่สำคัญในการพัฒนาผู้เรียนก็คงไม่ผิด เพราะได้มีการศึกษาวิจัยอย่างต่อเนื่อง อย่างเช่น ในปี พ.ศ. 2536 Chickering and Reisser (อ้างถึงใน ศิริพร ครุฑกาศ, 2561: 128) กล่าวว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนานิสิตนักศึกษานั้น ได้แก่ สภาพความเป็นอยู่สิ่งแวดล้อมกลุ่มเพื่อน สัมพันธภาพกับอาจารย์และการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ในสถาบัน ต่อมาปี พ.ศ. 2547, 2550, และ 2553 Brand et al., Chow และ Eliot et al. (อ้างถึงใน อัชฌา ชื่นบุญ และชุติมา แสงดารารัตน์, 2559: 193) มีแนวคิดเห็นไปในทิศทางเดียวกันว่า ความมุ่งมั่นในการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ขึ้นอยู่กับบรรยากาศในการเรียน และเป็นตัวแปรที่สำคัญในการทำนายความสำเร็จทางการเรียนรู้ของผู้เรียน และในปี พ.ศ. 2561 นี้ ศิริพร ครุฑกาศและคณะ (2561: 126) ได้วิจัยสภาพแวดล้อมต่อการพัฒนาตนเองของนักศึกษามีผลการวิจัยตรงกับข้อสรุปในต่างประเทศ คือ ปัจจัยสภาพแวดล้อม ได้แก่ วิธีการสอนของอาจารย์บรรยากาศในชั้นเรียน ระเบียบวินัยในชั้นเรียน สัมพันธภาพกับอาจารย์การเข้าร่วมกิจกรรม สัมพันธภาพกับเพื่อน และสภาพแวดล้อมทางกายภาพมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการพัฒนาตนเองของนักศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) โดยวิธีการสอนของอาจารย์ระเบียบวินัยในชั้นเรียน สัมพันธภาพกับอาจารย์การเข้าร่วมกิจกรรม และสัมพันธภาพกับเพื่อนสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาตนเองของนักศึกษาได้ร้อยละ 49.30 จากงานวิจัยล่าสุดนี้จะเห็นได้ว่า มีตัวแปรหลายตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับบรรยากาศในชั้นเรียน
ในบทความนี้จะนำเสนอทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน และการสังเคราะห์งานวิจัย เพื่อนำไปใช้ในการสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพต่อไป

Research paper thumbnail of Global and New Thai Ways in the Modern Era and the Application of the Sufficiency Economy

บทความนี้กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยจากสังคมเกษตรกรรมไปสู่สังคมอุตสาหกรรม ที่ได้รับอิทธิพลจ... more บทความนี้กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยจากสังคมเกษตรกรรมไปสู่สังคมอุตสาหกรรม ที่ได้รับอิทธิพลจากการพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยี สังคมไทยในอดีตมีลักษณะเป็นสังคมที่เน้นการพึ่งพาตนเองและมีวิถีชีวิตที่เรียบง่ายและสมดุลกับธรรมชาติ แต่ในปัจจุบันเกิดการปรับตัวจากสังคมเกษตรกรรมไปสู่สังคมอุตสาหกรรม โดยมุ่งเน้นการผลิตเพื่อการค้าและการใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การศึกษาและการพัฒนาทักษะใหม่ๆ จึงมีบทบาทสำคัญในการเตรียมคนให้พร้อมสำหรับโลกยุคใหม่ นอกจากนี้บทความยังเชื่อมโยงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่เน้นการพัฒนาอย่างสมดุลและยั่งยืน ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยการดำเนินชีวิตที่พอประมาณและการเตรียมพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น ในระดับโลก บทความยังกล่าวถึงความเปลี่ยนแปลงในด้านเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษาในระดับโลก รวมถึงการลดความยากจน การพัฒนาเทคโนโลยี และการส่งเสริมเสรีภาพทางการเมือง ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างสังคมที่ยั่งยืน บทความเสนอแนวทางในการจัดการเรียนการสอนที่สามารถเชื่อมโยงวิถีไทย วิถีโลก และเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองและสังคมได้อย่างยั่งยืนในอนาคต

This article discusses the transformation of Thai society from an agrarian to an industrial society, influenced by economic and technological development. In the past, Thai society was characterized by self-reliance, with a simple and balanced way of life in harmony with nature. However, in the present, there has been a shift from an agrarian society to an industrial one, focusing on production for trade and the use of technology to enhance efficiency. Education and the development of new skills play a crucial role in preparing individuals for the modern world. Additionally, the article connects the concept of Sufficiency Economy as introduced by King Bhumibol Adulyadej, which emphasizes balanced and sustainable development in economic, social, and environmental spheres. It advocates a moderate way of life and preparedness for potential changes. On a global scale, the article also addresses changes in the economy, society, and education, including poverty reduction, technological advancement, and the promotion of political freedom, which are key factors in creating a sustainable society. The article proposes a teaching approach that integrates Thai ways of life, global perspectives, and the philosophy of Sufficiency Economy, enabling students to develop themselves and contribute to a sustainable society in the future.

Research paper thumbnail of teacher and Sufficiency economy

he Sufficiency Economy Philosophy (SEP), introduced by King Bhumibol Adulyadej of Thailand, promo... more he Sufficiency Economy Philosophy (SEP), introduced by King Bhumibol Adulyadej of Thailand, promotes balanced and sustainable development rooted in moderation, reasonableness, and self-immunity. Teachers play a critical role in fostering SEP values within students, shaping mindsets that align with sustainable practices and lifelong resilience.

Research paper thumbnail of Research Synthesis on Classroom Climate by Using Atlas.ti Program

วารสารสิรินธรปริทรรศน์, 2023

This article was the documentary research. Its objective was to synthesis researches on classroom... more This article was the documentary research. Its objective was to synthesis researches on classroom climate published in Thai Journal Online (Thaijo) database. The criterions of selecting research were that research articles were published in Thaijo and published within 11 years (2008-2018) concerning classroom climate. There were 29 research papers according to the criterions. A research synthesis applied domain analysis with the use of ATLAS.ti 7.0 program. The results from research synthesis about the classroom climate consisted of 6 components: warm interaction, parents' expectation, self-esteem, learning style, classroom environment, and learning schedule. Classroom climate was causal factor to learning achievement motivation, thinking skill, and desired characteristics. Classroom climate had direct effect to teaching efficiency and life skill.

Research paper thumbnail of Analysis of the Quality of Test

การหาคุณภาพของแบบทดสอบปรนัย

Research paper thumbnail of The Analysis of an Essay Exam

Research paper thumbnail of Conducting a Thesis Using Artificial Intelligence Program

The objective of this academic article is to present guidelines for conducting research using art... more The objective of this academic article is to present guidelines for conducting research using artificial intelligence programs, specifically Chat GTP. These guidelines include searching for topics of interest to researchers from renowned academics both domestically and internationally, defining terms, and creating questionnaires. To ensure effective use of the artificial intelligence program, the guidelines include providing knowledge, searching information to allow the program to learn data, reviewing knowledge to ensure understanding, and verifying data from original documents.

Research paper thumbnail of research tools

การหาคุณภาพของเครื่องมือการวิจัย ในบทความนี้ ขอนำเสนอ การหาความยาก ค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบรายข้อ ก... more การหาคุณภาพของเครื่องมือการวิจัย ในบทความนี้ ขอนำเสนอ การหาความยาก ค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบรายข้อ การหาคุณของแบบทดสอบทั้งฉบับด้วย KR-20 และการหาความความเชื่อมั่นของแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่าด้วยวิธิ Cronbach โดยใช้โปรแกรม Excel และ SPSS

Research paper thumbnail of The Application of Self-Learning Technique in Terms of Writing Articles to the Development of Learning Achievement in Kalasin Buddhist Academic College, Mahamakut Buddhist University

The objectives of this classroom research were to compare the learning achievement, to study lear... more The objectives of this classroom research were to compare the learning achievement, to study learning behaviors, and learning satisfaction with the application of self-learning technique in terms of writing articles. The target group was 17 students of the 3 rd year in Thai Teaching Buddhism Field. The research was pre-experimental research as One Shot Case Design, conducted 3 hours for 4 times. The research instruments were Learning Achievement Test, Learning Satisfaction Form, and Learning Behaviors Observation Form. The data were analyzed by means of frequency, mean, standard deviation, and content analysis. The results of research were found that students’ learning achievement were high, their learning satisfaction at the highest level. Their learning behaviors were found they did not study lessons before attending the class and also did not present their papers as assigned. However, they could submit their papers as assigned.

Research paper thumbnail of Classroom research

การวิจัยในชั้นเรียนเป็นแนวทางการดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อแก้ไขปัญหาหรือจัดกิจก... more การวิจัยในชั้นเรียนเป็นแนวทางการดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อแก้ไขปัญหาหรือจัดกิจกรรมนักเรียนที่มีปัญหาการเรียนการสอนที่เหมาะสมสำหรับนักเรียน และนำผลการวิจัยมาปรับปรุงคุณภาพการเรียนรู้ของนักเรียนให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพมากกว่าเดิม

Research paper thumbnail of Classroom research

การวิจัยในชั้นเรียนเป็นแนวทางการดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อแก้ไขปัญหาหรือจัดกิจก... more การวิจัยในชั้นเรียนเป็นแนวทางการดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อแก้ไขปัญหาหรือจัดกิจกรรมนักเรียนที่มีปัญหาการเรียนการสอนที่เหมาะสมสำหรับนักเรียน และนำผลการวิจัยมาปรับปรุงคุณภาพการเรียนรู้ของนักเรียนให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพมากกว่าเดิม

Research paper thumbnail of The Application of Self-Learning Technique in Terms of Writing Articles to the Development of Learning Achievement in Kalasin Buddhist Academic College, Mahamakut Buddhist University

The objectives of this classroom research were to compare the learning achievement, to study lear... more The objectives of this classroom research were to compare the learning achievement, to study learning behaviors, and learning satisfaction with the application of self-learning technique in terms of writing articles. The target group was 17 students of the 3 rd year in Thai Teaching Buddhism Field. The research was pre-experimental research as One Shot Case Design, conducted 3 hours for 4 times. The research instruments were Learning Achievement Test, Learning Satisfaction Form, and Learning Behaviors Observation Form. The data were analyzed by means of frequency, mean, standard deviation, and content analysis. The results of research were found that students’ learning achievement were high, their learning satisfaction at the highest level. Their learning behaviors were found they did not study lessons before attending the class and also did not present their papers as assigned. However, they could submit their papers as assigned.

Research paper thumbnail of Definition, Components, and Types of Curriculum

#นิยาม #ความหมาย #และองค์ประกอบของหลักสูตร ... หลักสูตรมีนิยามไว้หลากหลาย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบริบท... more #นิยาม #ความหมาย #และองค์ประกอบของหลักสูตร
...
หลักสูตรมีนิยามไว้หลากหลาย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบริบทของการพัฒนาหลักสูตร หลักสูตรหนึ่งๆ จะประกอบด้วยองค์ประกอบที่สำคัญอยู่ 4 องค์ประกอบ คือ จุดประสงค์ เนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู้ และการวัดประเมินผล จากอดีตจนถึงปัจจุบันหลักสูตรได้พัฒนาขึ้นตามลำดับ ลักษณะของหลักสูตรต่างๆ จึงเกิดขึ้น เรียกว่า ประเภทของหลักสูตร ซึ่งมีอยู่ 7 ประเภท ได้แก่ หลักสูตรเนื้อหาวิชา หลักสูตรหมวดวิชา . และหลักสูตรหมวดวิชาแบบกว้าง หลักสูตรสัมพันธ์ หลักสูตรแกนกลาง หลักสูตรประสบการณ์ หลักสูตรบูรณาการ ทั้ง 3 หัวข้อที่กล่าวมานี้ มีความสัมพันธ์กัน ฉะนั้น นักศึกษาจะต้องทำความเข้าจะต้องศึกษาและทำความเข้าใจในแต่ละหัวข้อ เพื่อจะนำไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรได้

Research paper thumbnail of Way of Academic Article Writing by using ATLAS.ti Program

The purpose of this article is to present a way of academic article writing by using ATLAS.ti pro... more The purpose of this article is to present a way of academic article writing by using ATLAS.ti program. There are two topics: steps of an academic writing and usage of ATLAS.ti to writing an academic writing. The components of academic article consists of three parts: introduction, content, and conclusion that are written coherently with one paragraph and another paragraphs, as well as, are presented details in the same direction or unity. This will help readers see the relationship of information and get an answer for their reference or increasing wisdom. Before author will reach to this stage, the author will have a total concept of his/her writing that he/she gets from many reading articles and make a conclusion. Presently, there is an ATLAS.ti program that can help author write quickly and present a concept brightly graining from many readings in a short time. Therefore, writing an article will have relationship and unity.

บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อนำเสนอแนวทางในการเขียนบทความวิชาการโดยใช้โปรแกรม ATLAS.ti นำเสนอสาระสำคัญ 2 ประเด็น คือ ขั้นตอนในการเขียนบทความวิชาการ และการใช้โปรแกรม ATLAS.ti สำหรับการเขียนบทความวิชาการ องค์ประกอบที่สำคัญของบทความวิชาการมี 3 ส่วน คือ บทนำ เนื้อหา และบทสรุป ซึ่งทั้งสามส่วนนี้ จะต้องเขียนร้อยเรียงให้มีสัมพันธภาพระหว่างย่อหน้า และมีเอกภาพ คือ มีทิศทางในการนำเสนอข้อมูลเดียว จะทำให้ผู้อ่านอ่านแล้วเห็นความสัมพันธ์และได้คำตอบที่เป็นประโยชน์ที่จะนำไปใช้ในการอ้างอิง หรือประโยชน์ในการสร้างสรรค์สติปัญญาได้ ซึ่งการที่ผู้เขียนจะนำเสนอข้อมูลในลักษณะนี้ได้ ผู้เขียนจะต้องมีมโนทัศน์ในการนำเสนอข้อมูลในใจเป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยในการมีมโนทัศน์นั้นจะเกิดขึ้นได้ต้องมาจากการอ่านบทความวิชาการหรือบทความวิจัยหลายๆ เรื่อง จากนั้นจึงประมวลเป็นคำตอบ ซึ่งในปัจจุบันนี้มีโปรแกรม ATLAS.ti ที่สามารถช่วยให้ผู้เขียนได้รวดเร็ว และมีมโนทัศน์ในการนำเสนอกว้างยิ่งขึ้น จากการอ่านบทความที่มากมายในเวลาอันสั้น ฉะนั้น การเขียนบทความของผู้เขียนจะมีสัมพันธภาพและเอกภาพ

Research paper thumbnail of Inclusive Education Management

การที่จะจัดการศึกษาแบบเรียนรวมให้สาเร็จ ครูจะต้องยอมรับนักเรียน การปรับห้องเรียน หลักสูตร และกิจก... more การที่จะจัดการศึกษาแบบเรียนรวมให้สาเร็จ ครูจะต้องยอมรับนักเรียน การปรับห้องเรียน หลักสูตร และกิจกรรมการสอนให้นักเรียนบรรลุเป้าหมาทางวิชาการ พฤติกรรมกรรม และความต้องการของสังคม นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษจะสามารถเรียนอย่างมีความสุขในการเรียนและพวกเขาจะได้รับความเป็นธรรมมากขึ้นในด้านของความเสมอภาค ในบทความนี้เป็นการกล่าวถึงความเป็นมาของวิวัฒนาการของการเรียนรู้แบบเรียนรวม แนวทางการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม และลักษณ์การจัดการเรียนรู้แบบเรียนรวม

Research paper thumbnail of Characteristics of Teachers on Professional Ethics of Master Degree Students

Sikkha , 2019

The objectives of this research paper were to study and compare characteristics of teachers on pr... more The objectives of this research paper were to study and compare characteristics of teachers on professional ethics of Graduate Students. The samples were 91 directors and teacher mentors, master degree graduates and school students in semester 1 of the academic year 2018. The research instrument was the questionnaire. Statistics to be used in this research consisted of percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research findings revealed that characteristics of teachers on professional ethics of Graduate students were at the high level in the overall picture. A comparison of characteristics of teachers on professional ethics of Graduate Students revealed that sex of respondents had not statistically significant differences in the overall picture.

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบคุณลักษณะของครูตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูของนักศึกษาระดับมหาบัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยง นักศึกษา และนักเรียน จำนวน 91 คน ภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2561 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า ในภาพรวมนักศึกษาของมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุลมีคุณลักษณะของครูตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูอยู่ในระดับมาก ผลการเปรียบเทียบจรรยาบรรณวิชาชีพครู พบว่า ในภาพรวมปัจจัยทางด้านเพศ มีความคิดเห็นต่อคุณลักษณะของครูตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูของนักศึกษา แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ

Research paper thumbnail of Research Synthesis on Teacher Spirituality during 2008-2018  by Using ATLAS.ti

งานวิจัยนี้เป็นการสังเคราะห์งานวิจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างข้อสรุปจากการสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ย... more งานวิจัยนี้เป็นการสังเคราะห์งานวิจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างข้อสรุปจากการสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับจิตวิญญาณความเป็นครู กำหนดเกณฑ์การคัดเลือกงานวิจัย คือ เป็นงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในฐานข้อมูล Thai Journal Online (Thaijo) และเผยแพร่ภายในระยะเวลา 10 ปี คือ ระหว่างปี พ.ศ. 2557-2561 ได้งานวิจัยที่นำมาวิเคราะห์ จำนวน 9 เรื่อง การสังเคราะห์งานวิจัยใช้เทคนิคการวิเคราะห์คำหลักโดยใช้โปรแกรม Atlas.ti ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัย พบว่า จิตวิญญาณครู ประกอบด้วย 8 องค์ประกอบ คือ มีคุณธรรมจริยธรรม รักและศรัทธาในวิชาชีพ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ มีจิตวิทยาในการสอน พัฒนาตนเอง มีครูตัวแบบจิตวิญญาณความเป็นครู และมีความสุขกับการทำงาน จิตวิญญาณความเป็นครูเป็นส่วนประกอบย่อยของคุณลักษณะครูในศตวรรษที่ 21 และการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน นอกจากนี้ จิตวิญญาณความเป็นครูมีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง แรงจูงใจในการทำงาน ความทุ่มเทในการทำงาน ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ และความก้าวหน้าในการทำงาน

ABSTRACT
This article was research synthesis. Its objective was to draw conclusion from synthesizing of researches on teacher spirituality. The criterions of selecting research were that research articles were published in Thai Journal Online (Thaijo) and published within 10 years (2008-2018). There were 9 research papers according to the criterions. A research synthesis applied domain analysis with the use of Atlas.ti program. The results of research found that teacher spirituality consisted of 8 components: morality and ethics, love and belief in profession, friendship, taking responsibility on duties, teaching psychology, self-development, having good role of teacher spirituality, and happy working. Teacher spirituality was sub-component of the characteristics for the 21st century teacher and learning management of teacher. Besides, teacher spirituality had a positive relation with transformational leadership, working motivation, job involvement, professional learning community, career advancement.

Research paper thumbnail of How to write article by using ATLAS.ti Program

บทบาทสำคัญของนักวิชาการคือการเผยแพร่ความรู้ ซึ่งทำได้หลายรูปแบบ เช่น การพูด การแสดง การสาธิต การอ... more บทบาทสำคัญของนักวิชาการคือการเผยแพร่ความรู้ ซึ่งทำได้หลายรูปแบบ เช่น การพูด การแสดง การสาธิต การออกแบบ การสร้างหรือการเขียน โดยการเผยแพร่ความรู้ด้วยการเขียนจะมีผลกระทบในระดับกว้างมากที่สุด มีความคงทน ซึ่งรูปแบบการเขียนนั้นมักจะนำเสนอในรูปแบบของบทความวิชาการ และบทความวิจัย ในที่นี้จะกล่าวถึงการเขียนบทความวิชาการ ซึ่งบทความวิชาการที่ดีนั้น คือ ความเรียงที่เขียนขั้นเพื่อเสนอสาระจากข้อมูลที่ถูกต้องและเสนอความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน มีเนื้อหาและวิธีการนำเสนอที่เหมาะสมตามกาลสมัย เหมาะกับกลุ่มผู้อ่าน เป้าหมายของการเขียนบทความคือเสนอเรื่องราวต่างๆ ที่คนทั่วไปไม่รู้ หรือเสนอความคิดบางอย่างที่คนไม่คิดถึง ซึ่งในการนำเสนอแต่ละครั้งควรนำเสนอในประเด็นเดียว ซึ่งในการเขียนบทความจะเป็นการนำเสนอข้อมูล และแนวคิดแก่ผู้อ่านนั้น ผู้อ่านจะคล้อยตามหรือไม่นั้น จะขึ้นอยู่กับความน่าเชื่อถือของข้อมูล แนวคิดและเหตุผล เทคนิควิธีการในการนำเสนอ และความเชื่อมั่นของผู้อ่านต่อผู้เขียน ในปัจจุบันนี้มีโปรแกรมเชิงคุณภาพที่พัฒนาขึ้นมาหลายโปรแกรม ซึ่งโปรแกรม ATLAS.ti เป็นโปรแกรมที่ช่วยให้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพที่ใช้งานได้ง่าย และสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการเขียนบทความได้เป็นอย่างดี ฉะนั้น ในบทความนี้จะเสนอขั้นตอนในการเขียนบทความวิชาการ พร้อมกับนำเสนอการประยุกต์ใช่โปรแกรม ATLAS.ti มาใช้ในการเขียนบทความด้วยในตอนท้าย

Research paper thumbnail of The Development of Innovative Thinking by Integrating of Project Design and Mind Mapping for Undergraduates Granted Scholarships from Thai City Electric Company

สิกขา วารสารศึกษาศาสตร์ , 2019

The objectives of research paper were to study the innovative thinking and comparing of innovativ... more The objectives of research paper were to study the innovative thinking and comparing of innovative thinking. This research is a pre-experimental research. The sample was 100 students who are granted a scholarship from the Thai City Electric Company all over Thailand. There were 10 hours of conducting an activity of integration of project design-mind mapping. The research instrument consisted of test with 10 items of question containing the difficulty index ranged between. 1 8-. 9 6 and innovative thinking questionnaire with 10 items of question containing item reliability ranged between .411-.719 and with total

Research paper thumbnail of General Classroom Management

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2545 มาตรา 6 ได้กำหนดจุดมุ่งหมายทั่วไปของการจัดการศึกษาและเป็นอุดม... more พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2545 มาตรา 6 ได้กำหนดจุดมุ่งหมายทั่วไปของการจัดการศึกษาและเป็นอุดมการณ์ของการศึกษาหรือปรัชญาการศึกษาที่มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม วัฒนธรรมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่มีความสมดุลระหว่างบุคคลและส่วนรวม อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยได้มีการปฏิรูปการศึกษาเกือบ 2 ทศวรรษ คือ ตั้งแต่ พ.ศ. 2542 หลายๆ ด้าน โดยมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญ คือ การพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ แต่ผลการวิจัยยังพบว่า คุณภาพการศึกษาของนักเรียนยังไม่เป็นที่น่าพอใจของหลายๆ ฝ่าย งานวิจัยของปรียาภรณ์ ตังคุณานันต์ (2557 อ้างถึงใน ณิรดา เวชญาลักษณ์, 2559: 12) กล่าวถึงผลการปฏิรูปการศึกษาไว้ว่า การปฏิรูปการศึกษาดังกล่าวมีสิ่งที่ไม่ประสบผลสำเร็จ เช่น คุณภาพผู้เรียน ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ขาดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทั้งการคิด วิเคราะห์ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนและคุณธรรม จริยธรรม นอกจากนั้นการจัดการศึกษาของประเทศไทยในทุกระดับยังพบกับปัญหาเด็กออกกลางคัน ซึ่งปัญหาดังกล่าว นักวิจัยเห็นพ้องต้องกันว่าบรรยากาศการเรียนและสภาพการจัดการชั้นเรียนส่งผลโดยตรงต่อผลสัมฤทธิ์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และการคงอยู่ในชั้นเรียนของผู้เรียน และมีงานวิจัยอีกหลายเรื่องที่พบว่า บรรยากาศในชั้นเรียนส่งผลต่อคุณภาพการเรียนของผู้เรียน เช่น ในปี พ.ศ. 2536 Chickering and Reisser (อ้างถึงใน ศิริพร ครุฑกาศ, 2561: 128) กล่าวว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนานิสิตนักศึกษานั้น ได้แก่ สภาพความเป็นอยู่สิ่งแวดล้อมกลุ่มเพื่อน สัมพันธภาพกับอาจารย์และการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ในสถาบัน ต่อมาปี พ.ศ. 2547, 2550, และ 2553 Brand et al., Chow และ Eliot et al. (อ้างถึงใน อัชฌา ชื่นบุญ และชุติมา แสงดารารัตน์, 2559: 193) มีแนวคิดเห็นไปในทิศทางเดียวกันว่า ความมุ่งมั่นในการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ขึ้นอยู่กับบรรยากาศในการเรียน ซึ่งยังมีผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาและเป็นตัวแปรที่สำคัญในการทำนายความสำเร็จทางวิชาการของมนุษย์ และในปี พ.ศ. 2561 นี้ ศิริพร ครุฑกาศและคณะ (2561: 126) ได้วิจัยสภาพแวดล้อมต่อการพัฒนาตนเองของนักศึกษามีผลการวิจัยตรงกับข้อสรุปในต่างประเทศ คือ ปัจจัยสภาพแวดล้อม ได้แก่ วิธีการสอนของอาจารย์บรรยากาศในชั้นเรียน ระเบียบวินัยในชั้นเรียน สัมพันธภาพกับอาจารย์การเข้าร่วมกิจกรรม สัมพันธภาพกับเพื่อน และสภาพแวดล้อมทางกายภาพมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการพัฒนาตนเองของนักศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) โดยวิธีการสอนของอาจารย์ระเบียบวินัยในชั้นเรียน สัมพันธภาพกับอาจารย์การเข้าร่วมกิจกรรม และสัมพันธภาพกับเพื่อนสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาตนเองของนักศึกษาได้ร้อยละ 49.30 จากงานวิจัยล่าสุดนี้จะเห็นได้ว่า มีตัวแปรหลายตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับบรรยากาศในชั้นเรียน ในบทความนี้เป็นการรวบรวมแนวคิดของการจัดการจัดชั้นเรียนทั่วไป เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

Research paper thumbnail of Building of Classroom Climate

หากจะสันนิษฐานว่าบรรยากาศในชั้นเรียนเป็นตัวแปรที่สำคัญในการพัฒนาผู้เรียนก็คงไม่ผิด เพราะได้มีการศ... more หากจะสันนิษฐานว่าบรรยากาศในชั้นเรียนเป็นตัวแปรที่สำคัญในการพัฒนาผู้เรียนก็คงไม่ผิด เพราะได้มีการศึกษาวิจัยอย่างต่อเนื่อง อย่างเช่น ในปี พ.ศ. 2536 Chickering and Reisser (อ้างถึงใน ศิริพร ครุฑกาศ, 2561: 128) กล่าวว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนานิสิตนักศึกษานั้น ได้แก่ สภาพความเป็นอยู่สิ่งแวดล้อมกลุ่มเพื่อน สัมพันธภาพกับอาจารย์และการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ในสถาบัน ต่อมาปี พ.ศ. 2547, 2550, และ 2553 Brand et al., Chow และ Eliot et al. (อ้างถึงใน อัชฌา ชื่นบุญ และชุติมา แสงดารารัตน์, 2559: 193) มีแนวคิดเห็นไปในทิศทางเดียวกันว่า ความมุ่งมั่นในการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ขึ้นอยู่กับบรรยากาศในการเรียน และเป็นตัวแปรที่สำคัญในการทำนายความสำเร็จทางการเรียนรู้ของผู้เรียน และในปี พ.ศ. 2561 นี้ ศิริพร ครุฑกาศและคณะ (2561: 126) ได้วิจัยสภาพแวดล้อมต่อการพัฒนาตนเองของนักศึกษามีผลการวิจัยตรงกับข้อสรุปในต่างประเทศ คือ ปัจจัยสภาพแวดล้อม ได้แก่ วิธีการสอนของอาจารย์บรรยากาศในชั้นเรียน ระเบียบวินัยในชั้นเรียน สัมพันธภาพกับอาจารย์การเข้าร่วมกิจกรรม สัมพันธภาพกับเพื่อน และสภาพแวดล้อมทางกายภาพมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการพัฒนาตนเองของนักศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) โดยวิธีการสอนของอาจารย์ระเบียบวินัยในชั้นเรียน สัมพันธภาพกับอาจารย์การเข้าร่วมกิจกรรม และสัมพันธภาพกับเพื่อนสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาตนเองของนักศึกษาได้ร้อยละ 49.30 จากงานวิจัยล่าสุดนี้จะเห็นได้ว่า มีตัวแปรหลายตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับบรรยากาศในชั้นเรียน
ในบทความนี้จะนำเสนอทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน และการสังเคราะห์งานวิจัย เพื่อนำไปใช้ในการสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพต่อไป

Research paper thumbnail of การพัฒนาขีดความสามารถของพระสงฆ์ในการพัฒนาความเป็นพลเมืองของชุมชน

งานวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาขีดความสามารถของพระสงฆ์ในก... more งานวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาขีดความสามารถของพระสงฆ์ในการพัฒนาความเป็นพลเมืองของชุมชน เพื่อสร้างหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อพัฒนาขีดความสามารถของพระสงฆ์ในการพัฒนาความเป็นพลเมืองของชุมชน เพื่อประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการพัฒนาขีดความสามารถของพระสงฆ์ในการพัฒนาความเป็นพลเมืองของชุมชน กลุ่มตัวอย่างแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ตามระยะของการวิจัย ได้แก่ ระยะที่ 1 ศึกษาบริบทข้อมูลทั่วไป กลุ่มตัวอย่าง คือ พระสงฆ์ในจังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 314 รูป ระยะที่ 2 สร้างหลักสูตรฝึกอบรม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เชี่ยวชาญในการตรวจประเมินความสอดคล้องขององค์ประกอบของหลักสูตร จำนวน 26 รูป และนำหลักสูตรไปทดลองใช้กับพระสงฆ์ จำนวน 30 รูป และ ระยะที่ 3 ฝึกอบรม และพัฒนาความเป็นพลเมืองของชุมชน แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ฝึกอบรม กลุ่มตัวอย่าง คือ พระสงฆ์ จำนวน 100 รูป และขั้นตอนที่ 2 คัดเลือกพระสงฆ์ตัวอย่างที่ผ่านการอบรม จำนวน 1 รูป ในการพัฒนาความเป็นพลเมืองของชุมชน กลุ่มตัวอย่าง คือ ชุมชน จำนวน 353 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบทดสอบ แบบสอบถามบทบาทของพระสงฆ์ในศตวรรษที่ 21 แบบสอบถามวัดการรับรู้ความสามารถแห่งตน แบบสอบถามความพึงพอใจต่อหลักสูตรฝึกอบรม และแบบประเมินความสอดคล้ององค์ประกอบของหลักสูตร สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การทดสอบเอฟ และสหสัมพันธ์ ผลการวิจัย พบว่า ในภาพรวมบทบาทที่คาดหวังอยู่ในระดับมาก ส่วนบทบาทที่เป็นจริงอยู่ในระดับปานกลาง หลักสูตรฝึกอบรมที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ หลักการ จุดหมาย กลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาและกิจกรรม การวัดและประเมินผล ซึ่งองค์ประกอบของหลักสูตรมีความสอดคล้องกันอยู่ในระดับมาก และผลการทดลองใช้หลักสูตร พบว่า พระสงฆ์ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนผ่านตามเกณฑ์ที่หลักสูตรกำหนดไว้ที่ร้อยละ 70 มีการรับรู้ความสามารถแห่งตนอยู่ในระดับมาก มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก และ ความรู้ และความพึงพอใจต่อหลักสูตรมีความสัมพันธ์กับการรับรู้ความสามารถแห่งตนอยู่ในระดับปานกลางในทิศทางบวก และในการศึกษาประสิทธิภาพและประสิทธิผลของหลักสูตร พบว่า กลุ่มเป้าหมายมีความรู้สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ ความรู้ การรับรู้ความสามารถแห่งตน ความตระหนักพัฒนาบทบาทของพระสงฆ์ในศตวรรษที่ 21 และความพึงพอใจต่อหลักสูตร ซึ่งจากการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่าง ระดับความรู้ การรับรู้ความสามารถแห่งตน และความพึงพอใจ กับ บทบาทบทบาทของพระสงฆ์ในศตวรรษที่ 21 พบว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และจากการพัฒนาชุมชนด้วยกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาโดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการหลังการฝึกอบรม โดยพระสงฆ์ที่ผ่านการอบรม จำนวน 1 รูป พบว่า สามารถพัฒนาความเป็นพลเมืองของชุมชนอย่างมีนัยสำคัญ

This research was the research and development which its objectives were to study monks’ competency in the development of citizenship for the community, to construct the training curriculum of monks’ competency in the development of citizenship in community, and to evaluate the efficiency and effectiveness of monks’ competency in the development of citizenship for the community. The sample groups were divided into 3 phases. The first phase was the study of monks’ contexts in Kalasin. The sample was 314 monks. The second phase was to construct the training curriculum. The sample to rate the congruence of curriculum components was 26 senior monks and then the curriculum was tried out with 30 monks. The final phase was to train and develop the citizenship of community that was divided into 2 steps. The first step was to train 100 monks and then the second step was to select 1 outstanding monk to develop the citizenship of community. The sample was 353 people who live in the area of Tambon Nikom Municipality. The research instruments consisted of Test, Questionnaire of 21st century Roles of Monks, Questionnaire of Self-Efficacy, Questionnaire of Curriculum Satisfaction, and Evaluation Form of the Congruence of Curriculum Components. The statistics to be used in this research consisted of frequency, mean, standard deviation, t-test, F-test, and correlation. The findings of this research were revealed that expected roles were rated at the high level in the overall picture but there were rated in the moderate level for the actual role. This training curriculum consisted of six components: principle, aim, target group, contents and activity, and measurement and evaluation which these components had congruence at the high level. The tentative curriculum that was tried out was revealed the sample achieved the standard of curriculum criterions at 70% in terms of knowledge; self-efficacy and satisfaction with the curriculum reaching at the high level, as well as knowledge and satisfaction with curriculum having significant relation with the self-efficacy at the moderate level in the positive direction. In the study of efficiency and effectiveness of the curriculum were found that the target group had knowledge higher than the criterions in terms of knowledge, self-efficacy, awareness with the development of 21st century roles of monks, and satisfaction with the curriculum. There were significant relations between knowledge, self-efficacy and satisfaction with the curriculum and 21st century roles of monks. In addition, the development of community citizenship with the Buddhist activity by using the action research led by the outstanding monk who passed the training curriculum could develop the citizenship of community with the statistical significance differences.

Research paper thumbnail of การพัฒนาหลักสูตรการวิจัยและพุทธวิทยาการประยุกต์

การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์กรอบความต้องการของหลักสูตรในการการพัฒนาปัญญาแล... more การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์กรอบความต้องการของหลักสูตรในการการพัฒนาปัญญาและคุณธรรมจริยธรรมของคนในสังคม เพื่อกำหนดรูปแบบโครงสร้างหลักสูตรการวิจัยที่สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานอุดมศึกษา เพื่อประเมินความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อเนื้อหารูปแบบรายวิชาหลักสูตรการวิจัย และเพื่อศึกษาการเตรียมความพร้อมและความคิดเห็นต่อการเปิดใช้หลักสูตรการ กลุ่มเป้าหมายประเมินโครงสร้างหลักสูตรการวิจัย คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 17 รูป/คน เครื่องมือวิจัย คือ แบบตรวจสอบรายการ และกลุ่มเป้าหมายประเมินรูปแบบรายวิชาของหลักสูตร คือ กรรมการสภาวิชาการ จำนวน 23 รูป/คน เครื่องมือวิจัย คือ แบบตรวจสอบรายการและแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Spearman rank correlation coefficient และการวิเคราะห์เนื้อหาด้วยโปรแกรม Atlas.ti ผลการวิจัย พบว่า กรอบความต้องการของหลักสูตรประกอบด้วย 4 ข้อ ได้แก่ มีความเชี่ยวชาญทางด้านการวิจัย มีความรอบรู้ทางพระพุทธศาสนา มีทักษะในการออกแบบ การเลือกใช้สถิติด้วยการนำเทคโนโลยี และคอมพิวเตอร์มาใช้ในการวิจัย และ พัฒนางานวิจัยที่มีคุณภาพสามารถเผยแพร่ในระดับชาติและนานาชาติได้ รูปแบบโครงสร้างหลักสูตรการวิจัย พบว่า หลักสูตรเป็นแผน ก แบบ ก.2 มีความสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานอุดมศึกษา คือ มีหน่วยกิต จำนวน 39 หน่วยกิต ประกอบด้วย รายวิชาเรียนทฤษฎี จำนวน 21 หน่วยกิต และ วิทยานิพนธ์ จำนวน 39 หน่วยกิต การเขียนคำอธิบายรายวิชาประยุกต์แนวคิด โดยใช้รายวิชาหมวดบังคับ จำนวน 7 วิชา เป็นแกนในการบูรณาการคำอธิบายรายวิชาเข้ากับรายวิชาต่างๆ ในหลักสูตรทั้งหมด จำนวน 36 รายวิชา จากการประเมินรูปแบบโครงสร้างหลักโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า ในภาพรวมและรายด้านมีความเหมาะสมร้อยละ 100 กรรมการสภาวิชาการมีความคิดเห็นต่อรูปแบบหลักสูตรออยู่ในระดับมากที่สุด ความพร้อมในการเปิดหลักสูตรการวิจัย พบว่า มีความพร้อมด้านอาจารย์ประจำหลักสูตร และสถานที่ โดยความพร้อมด้านอาจารย์ประจำหลักสูตรมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลางกับการเปิดหลักสูตรและประชาสัมพันธ์หลักสูตรใน 1 ปีข้างหน้า และประการสุดท้าย คือ ในภาพรวมบุคลากรมีความคิดเห็นต่อหลักสูตรอยู่ในระดับมาก

The objectives of this research were to analytically study of curriculum framework in the development of wisdom, morality and ethics for people in society, to draft the research curriculum structure to be in line with the Thailand Qualification Framework for Higher Education (TQF), to evaluate personal’s opinions toward the subject matters in research curriculum, and to study the readiness and opinions toward the opening of this Research and Applied Buddhism Curriculum. The target group of evaluation this curriculum consisted of 17 specialists by using checklist from as a research instrument and the target group of evaluation of the subject matters of this curriculum consisted of 23 Academic Council Committees by using checklist form and rating-scale questionnaire. The statistics to be used in this research were frequency, percentage, mean, standard deviation, Spearman rank correlation coefficient and content analysis by using Atlas.ti. The research findings were revealed that necessary curriculum frameworks consisted of four items: specializing in research, expert in Buddhism, skills in research design by determining the appropriate statistics as well as skills in using technology and computer program for making a research, and quality of research report that can be presented in a national or international seminar. The structure of this curriculem is Plan A, Type A2 that is in line with the TQF. There are 39 credits that consist of 21 course work credits, and 39 credits for a thesis. The seven core subjects’ course work descriptions were integrated with 36 subjects in the selective subjects. From the evaluation by the specialists were found that the curriculum was suitable 100% in the overall and partial pictures as well as the Committee had opinions to this curriculum at the highest level. The readiness in opening this curriculum into the public was found that lecturer and building, especially lecturer having positively significant relation with opening this curriculum in the next one year at the moderate level. Lastly, the committee had opinions to this curriculum at the high level in the overall picture.

Research paper thumbnail of การใช้เทคนิคการนำเสนอผลการอ่านเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาหลักพระพุทธศาสนา

The objectives of this classroom research were to compare the learning achievement, to study lear... more The objectives of this classroom research were to compare the learning achievement, to study learning behaviors, and learning satisfaction with the application of reading and presentation technique. The target group was 24 students of the 4th year in Teaching Buddhism Field. The research was pre-experimental research as One Shot Case Design, conducted 3 hours for 4 times. The research instruments were Learning Achievement Test, Learning Satisfaction Form, and Self Learning Behaviors Evaluation Form. The data were analyzed by means of frequency, mean, standard deviation, Pearson product-moment correlation and content analysis. The results of research were found that students’ learning achievement were at the moderate level, their learning satisfaction at the high level as well as their learning behaviors especially students’ learning behaviors in terms of learning attention, attending the class, questioning, and appreciation of the subject having positive relations with satisfaction with lecturer in terms of teaching technique, listening to the students’ voices, attention in teaching, quality of teaching, and supporting self-learning.

Research paper thumbnail of การสร้างหลักสูตรฝึกอบรมเชาว์อารมณ์นักศึกษาครูของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยใช้หลักสมถะวิปัสสนากรรมฐานทางพระพุทธศาสนา

The objectives of this research were to construct the emotional intelligence training curriculum ... more The objectives of this research were to construct the emotional intelligence training curriculum for student teachers at Mahamakut Buddhist University by using
Buddhist meditation and to study the effectiveness of the mentioned curriculum. The research was divided into two phases. The first phase was to construction the emotional intelligence curriculum. The samples consisted of five specialists to evaluate the congruence of the curriculum and to rate the suitability of the curriculum, and then, trying out with 15 students for 6 hours. The second phase was to study the effectiveness
of curriculum conducting with 40 pre-service students for 36 hours in the first semester of the academic year 2017. The research instruments consisted of Evaluation Form of Emotional Intelligence with the total reliability of .917 and Satisfaction Questionnaire containing with the total reliability of .791. The statistics consisted of frequency, mean, standard deviation, t-test dependent and Spearman Rank Correlation Coefficient was
tested its significance at 0.05. The research findings were revealed as follows: the first phase of this research
was to construct the curriculum which consisted of 6 components of curriculum: state of program and needs, purposes, contents, training guideline, training media, and evaluation. The curriculum that was constructed had good congruence value and had the suitability at the high level. The curriculum can increase the student teachers’ emotional intelligence as well as they satisfied with the training curriculum at the high level. Therefore, in the second phase, the training curriculum was implemented with 40 pre-service students. It was revealed their emotional intelligence increased after the
training: before training they had 71.80% of emotional intelligence level and increasing as 80.80% after the training, especially in terms of self-regulation, self-control, self-motivation having statistical significance difference; as well as, they satisfied with the training curriculum at the high level.

Research paper thumbnail of การทดลองใช้ตำราเรียนภาษาอังกฤษร่วมกับแผนผังความคิดเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

บทคัดย่อ การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้... more บทคัดย่อ
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ และศึกษาความพึงพอใจในการใช้แผนที่ความคิดเพื่อการอ่านตาราเรียนที่เป็นภาษาอังกฤษ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชา ภาษาอังกฤษ จานวน 3 คน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ใช้รูปแบบการทดลองเบื้องต้น คือ ทดสอบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังเรียน รวม 2 ครั้งๆ ละ 3 ชั่วโมง เครื่องมือวิจัย คือ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดความพึงพอใจ และแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเพิ่มขึ้น มีความพึงพอใจในระดับมาก และนักศึกษาเตรียมตัวนาเสนอผลการอ่านด้วยการสรุปเป็นแผนผังความคิดได้

The objectives of this research were to compare the learning achievement, to study learning behaviors, and learning satisfaction with mind mapping as learned from English text. The target group was 3 students of the 2nd year in English major, conducted in the first semester of the academic year 2017. The research was pre-xperimental
research as One Group Pretest-Posttest Design, conducted 2 times, 3 hours for each time. The research instruments were learning achievement test, form of learning satisfaction, and learning achievement form. The data were analyzed by means of frequency, mean, standard deviation, and content analysis. The results of research were found that students’ learning achievement were increasing after learning and their learning satisfaction at the high level, and they were able to present their reading from mind mapping.

Research paper thumbnail of รูปแบบการพัฒนาทักษะการอ่านที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในระดับ ประถมศึกษา

This research is a qualitative research that its objectives was to study a model of reading sk... more This research is a qualitative research that its objectives was to study a model of reading skill development as efficiency and effectiveness of Kamphonthong Secondary School, Kamalasai district, Kalasin. The targets of this research consisted of 1 director and 1 teacher, 5 parents’ students, and 25 primary students grade 3-6. Data collection was analyzed by means of content analysis with Atlas.ti program. The
finding of this research was revealed that the model of reading skill development as efficiency and effectiveness consists of 2 main factors: attention of teachers in school and parents at homes in supporting of reading by closely cooperation with each other in terms of doing home works, reading assignments. As a result, students have
effective and efficient reading skill.

Research paper thumbnail of การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมด้วยกระบวนการ KIT MODEL (Moral and Ethic Development by KIT MODEL)

The purposes of this research were to study levels of moral and ethical knowledge, moral and ethi... more The purposes of this research were to study levels of moral and ethical knowledge, moral and ethical behaviors, self-efficacy in development of morality and ethics, and satisfaction with the development of morality and ethics by using the KIT MODEL; to study factors relating to moral and ethical behaviors according to variables as schools, levels of moral and ethical knowledge, self-efficacy in development of morality and ethics and satisfaction with the development of morality and ethics by using the KIT MODEL; and to develop moral and ethical behaviors according to KIT MODEL by means of action research. The target groups who were local administrative leaders and student leaders in schools were divided into 2 phases. Phase 1—tranining, there were 60 populations and there were 21 people who completely responded to the questionnaires. Phase 2—follow up, development, and evaluation of 3 schools: Thetsaban 2 Wat Sawang Khongkha School, Donsaingampittayakhom School, and Kalasin College of Dramatic Arts. For this phase, there were 2 steps of research. Step 1—study the basic context, there were 207 respondents of the questionnaires and step 2—follow up, development, and evaluation, there were 151 respondents to the questionnaires. The research instruments consisted of questionnaire and interview. Statistics to be used in this research were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-Test (One-way ANOVA), Pearson Product – Moment Correlation Coefficient and Spearman Rank Correlation Coefficient. The findings of this research were revealed that phase 1— results of training were indicated trainees had knowledge of morality and ethics at the moderate level, self-efficacy in development of morality and ethics at the high level, and satisfaction with the training program at the high level before training but satisfaction at the highest level after the training. There were no relations between knowledge of morality and ethics, self-efficacy in development of morality and ethics, satisfaction with the training program and moral and ethical behaviors of trainees. Phase 2—follow up, development, and evaluation. Step 1—studying of basic context were found that respondents had knowledge of morality and ethics at the moderate level, totally and partially moral and ethical behaviors at the high level, and self-efficacy in development of morality and ethics at the high level. Step 2—follow up and development of morality and ethics by means of 1 cycle of action research were revealed that knowledge of morality and ethics still at the moderate level, as well as, totally and partially moral and ethical behaviors and self-efficacy in development of morality and ethics also at the high level. But satisfaction with the KIT MODEL was at the highest level. From the analysis of relations, there were indicated that variables as knowledge of morality and ethics, self-efficacy in development of morality and ethics, satisfaction with the training program with moral and ethical behaviors were at the moderate level in the positive direction. However, variable as schools had significant relations with moral and ethical behaviors at the low level in the positive way.

Research paper thumbnail of การสะท้อนความคิดทางการเรียนด้วยการเขียนบทความ

The objectives of this classroom research were to compare the learning achievement, to study lear... more The objectives of this classroom research were to compare the learning achievement, to study learning behaviors, and learning satisfaction with the application of self-learning technique in terms of writing articles. The target group was 17 students of the 3rd year in Thai Teaching Buddhism Field. The research was pre-experimental research as One Shot Case Design, conducted 3 hours for 4 times. The research instruments were Learning Achievement Test, Learning Satisfaction Form, and Learning Behaviors Observation Form. The data were analyzed by means of frequency, mean, standard deviation, and content analysis. The results of research were found that students’ learning achievement were high, their learning satisfaction at the highest level. Their learning behaviors were found they did not study lessons before attending the class and also did not present their papers as assigned. However, they could submit their papers as assigned.
....

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ และศึกษาความพึงพอใจในการใช้เทคนิคการการสืบค้นด้วยตนเองด้วยการเขียนบทความ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชา การสอนภาษาไทย จำนวน 17 คน ใช้รูปแบบการทดลองเบื้องต้น คือ กลุ่มเดียวทดสอบหลังเรียน รวม 4 ครั้งๆ ละ 3 ชั่วโมง เครื่องมือวิจัย คือ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดความพึงพอใจ และแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนในระดับสูง มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด และพฤติกรรมในการเรียนที่พบ คือ ไม่อ่านหนังสือมาล่วงหน้า และไม่นำเสนอผลการค้นคว้าตามที่กำหนด แต่ส่งงานครบตามที่มอบหมาย

Research paper thumbnail of การใช้เทคนิคแผนผังความคิดเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ตำราเรียนเป็นภาษาอังกฤษ

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ และศึกษา... more การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ และศึกษาความพึงพอใจในการใช้แผนที่ความคิดเพื่อการอ่านตำราเรียนที่เป็นภาษาอังกฤษ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชา ภาษาอังกฤษ จำนวน 3 คน ใช้รูปแบบการทดลองเบื้องต้น คือ ทดสอบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังเรียน รวม 2 ครั้งๆ ละ 3 ชั่วโมง เครื่องมือวิจัย คือ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดความพึงพอใจ และแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเพิ่มขึ้น มีความพึงพอใจในระดับมาก และนักศึกษาเตรียมตัวนำเสนอผลการอ่านและการเขียนแผนผังความคิด

The objectives of this research were to compare the learning achievement, to study learning behaviors, and learning satisfaction with mind mapping as learned from English text. The target group was 3 students of the 2nd year in English major. The research was pre-experimental research as One Group Pretest-Posttest Design, conducted 2 times, 3 hours for each time. The research instruments were learning achievement test, form of learning satisfaction, and learning achievement form. The data were analyzed by means of frequency, mean, standard deviation, and content analysis. The results of research were found that students’ learning achievement were increasing after learning and their learning satisfaction at the high level, and they were ready in presenting their results of reading and writing mind mapping.

Research paper thumbnail of การประเมินโครงการปฏิบัติธรรมด้วย Tyler and Stake

The objectives of this research were to study the goal attainment of the project, to study the... more The objectives of this research were to study the goal attainment of the
project, to study the transactions and outcomes of Buddhist practices dedicated to His Majecty King Phumiphol in 2015. The samples were 273 people who participatedin the project on 4 December 2016. The research instrument was the evaluation questionnaire by the application of Tyler’s Goal Attainment Model and the Stake’s Congruence Contingency Model in terms of goal. The statistics to be used for
analyzing the data were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, Mann Whitney U, Kruskal-wallis H Test และ Pearson correlation. The findings of this research were revealed that the goals of the project were attained 81.60%. The outcomes of the project were: participants’ affective domain dedicated to the King emotional intelligence, and satisfaction with the program at the high level or 78.80,
80.76, and 79.40 respectively.

งานวิจัยเรื่องมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความส าเร็จตามวัตถุประสงค์ เพื่อประเมิ นการปฏิบัติและเพื่อประเมิ นผลที่เกิ ดขึ้ นของโครงการ ปฏิ บั ติ ธรรมถวายเป็ นพระราชกุ ศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมิ นทรมหาภู มิ พลอดุ ลเดช ประจ าปี พ. ศ. 2559 กลุ่มตั วอย่าง คื อ ประชาชนที่เข้ าร่วมโครงการจำนวน 273 คน ในวั นที่ 4 ธั นวาคม 2559 เครื่องมื อที่ใช้ ในการวิจัย คือ แบบประเมิ นโครงการ โดยการผสมผสานรู ปแบบการประเมิ นของไทเลอร์ และสเต้ ก สถิ ติ ที่ใช้ ในการวิ เคราะห์ ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test, Mann Whitney U, Kruskal-wallis H Test และ Pearson correlation ผลการวิจัย พบา วัตถุประสงค์ ของโครงการบรรลุ 81\. 60 ผลที่เกิ ดขึ้ นกั บผู้ เข้ าร่วมโครงการ พบว่า ในภาพรวมผู้ เข้ าร่วมโครงการมี ระดั บจิ ตพิ สั ยจากการถวายเป็นพระ ราชกุศลอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 78.80 มีเชาว์อารมณ์อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 80.76 และมี ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 79.40

Research paper thumbnail of บทบาทของครูพระสอนศิลธรรมในโรงเรียนกับศีลธรรมของนักเรียน

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษาบทบาทของค... more การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษาบทบาทของครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน เพื่อเปรียบเทียบบทบาทของครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทของครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนกับศีลธรรมพื้นฐานของนักเรียน และ เพื่อศึกษาศีลธรรมของนักเรียนที่เรียนกับครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนในเชิงคุณภาพ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ ครูพระสอนศีลธรรม ผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง นักเรียน และผู้ปกครอง จำนวน 1,200 รูป/คน ได้แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์จำนวน 747 ชุด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Krukal Wallis Test และ สัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis)
ผลการวิจัย พบว่า โดยรวมและรายด้านครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนมีบทบาทอยู่ในระดับมากทุกด้านโดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยได้แก่ ด้านปกครองคณะสงฆ์ ด้านการสาธารณูปการ ด้านการสาธารณสงเคราะห์ ด้านการเผยแผ่ศาสนธรรม ด้านศาสนศึกษา ด้านความเป็นครูพระสอนศีลธรรม และด้านการศึกษาสงเคราะห์ ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า บทบาทของครูพระสอนศีลธรรมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทุกด้าน และบทบาทของครูพระสอนศีลธรรมมีความสัมพันธ์กับศีลธรรมพื้นฐานของนักเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทุกด้านเช่นกัน ส่วนการศึกษาด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก พบว่า คุณธรรมพื้นฐานของนักเรียนที่เรียนกับครูพระสอนศีลธรรม ได้แก่ ไม่ดื้อ อ่อนน้อมถ่อมตน พูดจาไพเราะ กตัญญูกตเวที ซื่อสัตย์สุจริต รู้จักบาป-บุญ และรู้จักไหว้พระ

Research paper thumbnail of การประเมินหลักสูตรฝึกอบรมการพัฒนาบุคลิกภาพและการพูดในที่ชุมชนโดยใช้รูปแบบการประเมินของ Provus

งานวิจัยเรื่องนี้เป็นงานวิจัยประเมินหลักสูตรตามทฤษฎีการประเมินของโพรวัส มีวัตถุประสงค์ศึกษาประส... more งานวิจัยเรื่องนี้เป็นงานวิจัยประเมินหลักสูตรตามทฤษฎีการประเมินของโพรวัส มีวัตถุประสงค์ศึกษาประสิทธิผลของหลักสูตรการพัฒนาบุคลิกภาพและการพูดในที่ชุมชน และเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลของหลักสูตรการพัฒนาบุคลิกภาพและการพูดในที่ชุมชน กลุ่มเป้าหมาย คือ นักศึกษา จำนวน 21 รูป/คน ซึ่ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบทดสอบ แบบตรวจสอบรายการเกี่ยวกับหัวข้อสำหรับการอบรม แบบประเมินการรับรู้ความสามารถแห่งตน และแบบสอบถามวัดความพึงพอใจ ค่าสถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ควอไทล์ Mann Whitney U, และKruskal-Wallis Test ผลการวิจัย พบว่า ประสิทธิผลด้านบุคลิกภาพ การพูดในที่ชุมชน และความพึงพอใจในหลักสูตรบรรลุเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ส่วนความรู้และการรับรู้ความสามารถแห่งตนไม่ถึงเกณฑ์ที่กำหนดไว้ จากการเปรียบเทียบประสิทธิผลของหลักสูตร พบว่า ปัจจัยทางด้านเพศ และสถานภาพที่แตกต่างกันมีความรู้มีระดับความรู้แตกต่างกัน ส่วนการรับรู้ความสามารถแห่งตนกับปัจจัยด้านต่างๆ ไม่มีความแตกต่างกัน

Research paper thumbnail of ผลการประเมินโครงการเผยแผยแพร่ธรรมะทางวิทยุและโทรทัศน์ด้ววยการผสมผสานรูปแบบการประเมินของไทเลอร์และสเต้ก

งานวิจัยเรื่องมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ และเพื่อประเมินการปฏิบัติและผลท... more งานวิจัยเรื่องมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ และเพื่อประเมินการปฏิบัติและผลที่เกิดขึ้นของโครงการเผยแผ่ธรรมะทางวิทยุและโทรทัศน์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 24 รูป/คน ซึ่งประกอบด้วย พระภิกษุ สามเณร นักศึกษา และนักเรียน ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินโครงการมาตราส่วนประมาณค่า 3 ระดับ โดยการผสมผสานรูปแบบการประเมินของไทเลอร์และสเต้ก กำหนดเกณฑ์สำหรับการตัดสินคุณค่าไว้ที่ระดับ 2.30 ค่าสถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ผลการวิจัย พบว่า วัตถุประสงค์บรรลุตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ด้านการปฏิบัติ คือ การจัดกิจกรรมสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ โดยเฉพาะด้านวิทยากรมีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ เนื้อหาทันต่อเหตุการณ์และเทคโนโลยีปัจจุบัน และเนื้อหาสามารถพัฒนาให้เป็นนักจัดรายการวิทยุหรือโทรทัศน์ได้ และผลที่เกิดขึ้น พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจต่อการให้บริการ มีคุณลักษะที่พึงประสงค์ และความคุ้มค่าสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้

Research paper thumbnail of ผลการประเมินโครงการอาสาพระนักเผยแผ่และการปฏิบัติธรรมด้วยการผสมผสานรูปแบบการประเมินของไทเลอร์และโพรวัส

งานวิจัยเรื่องมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการ คือ เพื่อให้พระสงค์มี... more งานวิจัยเรื่องมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการ คือ เพื่อให้พระสงค์มีความรู้ความเข้าใจหลักการเผยแผ่ธรรมะที่ถูกต้อง เพื่อให้สามารถนำหลักการเผยแผ่ธรรมะไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ และ เพื่อประชาสัมพันธ์ มมร.วศ.ก. กลุ่มเป้าหมาย คือ พระภิกษุสามเณร จำนวน 127 รูป ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินโครงการโดยการผสมผสานรูปแบบการประเมินของไทเลอร์และสเต้ก กำหนดเกณฑ์มาตรฐานความสำเร็จไว้ที่ค่าเฉลี่ยร้อยละ 70 ค่าสถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (x) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ไควสแควร์ และ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า การบรรลุวัตถุประสงค์บรรลุที่ร้อยละ 70 ข้อเสนอแนะ คือ ควรดำเนินโครงการนี้ในปีต่อไป และเพื่อปรับปรุงโครงการให้มีประสิทธิผลนั้น ควรเน้นกระบวนการสร้างจิตสำนึก รูปแบบการถ่ายทอดความรู้ และการฝึกทักษะความเป็นพระนักเผยแผ่ เช่น วิธีแสดงธรรม เป็นต้น

Research paper thumbnail of การใช้เทคนิคการการสืบค้นด้วยตนเองด้วยการเขียนบทความ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ และศึกษา... more การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ และศึกษาความพึงพอใจในการใช้เทคนิคการการสืบค้นด้วยตนเองด้วยการเขียนบทความ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชา การสอนภาษาไทย จำนวน 17 คน ใช้รูปแบบการทดลองเบื้องต้น คือ กลุ่มเดียวทดสอบหลังเรียน รวม 4 ครั้งๆ ละ 3 ชั่วโมง เครื่องมือวิจัย คือ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดความพึงพอใจ และแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนในระดับสูง มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด และพฤติกรรมในการเรียนที่พบ คือ ไม่อ่านหนังสือมาล่วงหน้า และไม่นำเสนอผลการค้นคว้าตามที่กำหนด แต่ส่งงานครบตามที่มอบหมาย

Research paper thumbnail of The Application of Mind Mapping Technique to Enhance  Students’ Learning Achievement

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ และศึกษา... more การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ และศึกษาความพึงพอใจในการใช้แผนที่ความคิดเพื่อการอ่านตำราเรียนที่เป็นภาษาอังกฤษ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชา ภาษาอังกฤษ จำนวน 3 คน ใช้รูปแบบการทดลองเบื้องต้น คือ ทดสอบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังเรียน รวม 2 ครั้งๆ ละ 3 ชั่วโมง เครื่องมือวิจัย คือ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดความพึงพอใจ และแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเพิ่มขึ้น มีความพึงพอใจในระดับมาก และนักศึกษาเตรียมตัวนำเสนอผลการอ่านและการเขียนแผนผังความคิด

Research paper thumbnail of การใช้เทคนิคการนำเสนอผลการอ่านเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาหลักพระพุทธศาสนา วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์

การใช้เทคนิคการนำเสนอผลการอ่านเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาหลักพระพุทธศาสนา วิทยาลัยศ... more การใช้เทคนิคการนำเสนอผลการอ่านเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ในรายวิชาหลักพระพุทธศาสนา วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์

Research paper thumbnail of ผลการประเมินโครงการปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ด้วยการผสมผสานรูปแบบการประเมินของไทเลอร์และสเต้ก ประจำปี พ.ศ. 2558

งานวิจัยเรื่องมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินการปฏิบัติและเพื่อป... more งานวิจัยเรื่องมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินการปฏิบัติและเพื่อประเมินผลที่เกิดขึ้นของโครงการปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ประจำปี พ.ศ. 2558 กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 108 ในวันที่ 3-4 ธันวาคม 2558 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินโครงการโดยการผสมผสานรูปแบบการประเมินของไทเลอร์และสเต้ก แบบสอบถามด้านความสำเร็จของวัตถุประสงค์ การปฏิบัติ และผลที่เกิดขึ้น มีค่าความเชื่อมั่น คือ 0.846, 0.937 และ 0.915 ตามลำดับ กำหนดเกณฑ์สำหรับการตัดสินคุณค่าไว้ที่ระดับ 4.00 หรือ ร้อยละ 80 ค่าสถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Quartile, t-test, One-WAY ANOVA ผลการวิจัย พบว่า วัตถุประสงค์ของโครงการบรรลุตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ด้านการปฏิบัติ คือ การจัดกิจกรรมสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ โดยเฉพาะด้านวิทยากรมีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ เวลาและสถานที่ในการจัดโครง และผลที่เกิดขึ้น พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจต่อการให้บริการอยู่ในระดับมากทุกด้าน

Research paper thumbnail of การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมสุภาพบุรุษและสุภาพสตรีโดยใช้โยนิโสมนสิการสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี

การวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยและพัฒนามีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างหลักสูตรฝึกอบรมความเป็นสภาพบุรุษแ... more การวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยและพัฒนามีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างหลักสูตรฝึกอบรมความเป็นสภาพบุรุษและสุภาพสตรีโดยใช้โยนิโสมนสิการ และ 2)เพื่อหาประสิทธิผลของหลักสูตรฝึกอบรมความเป็นสภาพบุรุษและสุภาพสตรีโดยใช้โยนิโสมนสิการ กลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นกลุ่มทดลองการใช้หลักสูตรคือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ จำนวน 14 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดทักษะการคิดความเป็นสภาพบุรุษและสุภาพสตรีโดยใช้โยนิโสมนสิการ และแบบประเมินความพึงพอใจในหลักสูตร วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Mann Whitney U ผลการวิจัย พบว่า หลักสูตรฝึกอบรมความเป็นสภาพบุรุษและสุภาพสตรีโดยใช้โยนิโสมนสิการที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสม ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ คือ หลักการ จุดหมาย กลุ่มเป้าหมาย สาระการเรียนรู้ วิธีการจัดการศึกษา การจัดกระบวนการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผล และประสิทธิผลของหลักสูตร พบว่า กลุ่มทดลองมีทักษะการคิดความเป็นสภาพบุรุษและสุภาพสตรีโดยใช้โยนิโสมนสิการ ร้อยละ 70 และ มีความพึงพอใจในหลักสูตร ร้อยละ 91.02